บทบาทพยาบาลในการป้องกัน ลด ละ เลิกบุหรี่ไฟฟ้าในวัยรุ่น
คำสำคัญ:
บุหรี่ไฟฟ้า, การป้องกัน, วัยรุ่นบทคัดย่อ
บุหรี่ไฟฟ้ามีแนวโน้มเป็นที่นิยมและมีผู้สูบมากขึ้น เนื่องจากผู้ใช้ส่วนใหญ่เชื่อว่าบุหรี่ไฟฟ้ามีความปลอดภัย และเชื่อว่าสามารถใช้บุหรี่ไฟฟ้าในการช่วยเลิกบุหรี่ธรรมดาได้ การสูบบุหรี่ไฟฟ้าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถทำได้เนื่องจากมีความผิดทางกฎหมาย และที่สำคัญ มีอันตรายต่อสุขภาพมากกว่าบุหรี่ธรรมดา แต่กลับได้รับความนิยมเนื่องจากการออกแบบรูปลักษณ์ สี และกลิ่น เป็นสิ่งดึงดูดวัยรุ่นให้มีมุมมองที่ดีต่อสินค้า และการเข้าถึงแหล่งซื้อขายในเครือข่ายสังคมออนไลน์ทำให้สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
พยาบาลวิชาชีพจึงมีบทบาทสำคัญในการป้องกัน ลด ละ เลิกบุหรี่บุหรี่ไฟฟ้าในวัยรุ่น เพื่อช่วยให้วัยรุ่นที่ยังไม่สูบบุหรี่ไฟฟ้า ไม่ให้กลายเป็นผู้สูบบุหรี่หน้าใหม่ในอนาคต และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรบังคับใช้กฎหมายบุหรี่ไฟฟ้าอย่างจริงจัง มีมารตราการควบคุมบุหรี่ไฟฟ้าอย่างเข้มงวด และสื่อสารข้อเท็จจริงถึงอันตรายจากบุหรี่ไฟฟ้า เพื่อแก้ไขปัญหาความเชื่อว่าการสูบบุหรี่ไฟฟ้าไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพต่อไป
References
รณชัย คงสกนธ์. บุหรี่ไฟฟ้าผิดกฎหมาย ป่วยหนัก ตายจริง (บทบรรณาธิการ). วารสารก้าวทันวิจัยกับ ศจย. 2563; 12(1):4-6.
Gaiha SM, Cheng J, Halpern-Felsher B. Association between youth smoking, electronic cigarette use, and COVID-19. J Adolesc Health 2020; 67(4):519-23. doi: 10.1016/j.jadohealth.2020.07.002.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารข้อเท็จจริง:โครงการสำรวจการบริโภคยาสูบในกลุ่มเยาวชน ในประเทศไทย ปี 2558. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ซีนิธ กรุ๊ป; 2559.
ศรีรัช ลอยสมุทร. ผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่ในสื่อสังคมเครือข่าย และผลของการบังคับใช้กฎหมายผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่. วารสารกฎหมายสุขภาพและสาธารณสุข 2562; 5(1):13-29.
กิติพษ์ เรือนเพ็ชร. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ไฟฟ้าของนักเรียนชายอาชีวศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์. [วิทยานิพนธ์หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน].ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2564.
Case K, Crook B, Lazard A, Mackert M. Formative research to identify perceptions of e-cigarettes in college students: Implications for future health communication campaigns. J Am Coll Health 2016;64(5):380-9. doi:10.1080/07448481.2016.1158180.
Cho JH, Shin E, Moon SS. Electronic-cigarette smoking experience among adolescents. J Adolesc Health 2011; 49(5):542-6. doi:10.1016/j.jadohealth.2011.08.001.
Pepper JK, Reiter PL, McRee AL, Cameron LD, Gilkey MB, Brewer NT. Adolescent males' awareness of and willingness to try electronic cigarettes. J Adolesc Health 2013; 52(2):144-50. doi: 10.1016/j.jadohealth.2012.09.014.
Grana RA. Electronic cigarettes: a new nicotine gateway? J Adolesc Health 2013; 52(2):135-6. doi: 10.1016/j.jadohealth.2012.11.007.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดขอนแก่น. กรมควบคุมโรค ยืนยันบุหรี่ไฟฟ้าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของวัยรุ่น มุ่งเป้าป้องกันนักสูบหน้าใหม่ [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 20]. เข้าถึงได้จาก: http://odpc7.ddc.moph.go.th/archives.php?no=1183&for=&group
นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. ผลิตภัณฑ์ยาสูบ:นโยบายและมาตรการการควบคุมเพื่อสุขภาพ. กรุงเทพฯ: เจริญดีมันคงการพิมพ์; 2560.
สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โครงการศึกษาผลกระทบของบุหรี่ไฟฟ้าที่มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 24]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaitobacco.or.th/th/wp-content/uploads/2015/07/140305_ECIG-Report-Template_V28.pdf
นิธิพัฒน์ เจียรกุล. บุหรี่ไฟฟ้า มิตรแท้หรือศัตรูถาวร [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิย. 24]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thoracicsocietythai.org/2018/06/24/e-cigarettes-friends-or-foe/
Yamin CK, Bitton A, Bates DW. E-cigarettes: a rapidly growing Internet phenomenon. Ann Intern Med. 2010 Nov 2;153(9):607-9. doi: 10.7326/0003-4819-153-9-201011020-00011.
McKenna, L. A. Electronic Cigarette Fires and Explosions in the United States 2009-2016. [internet]. 2017 [cited 2021 Jun 8]. Available from: https://www.usfa.fema.gov/downloads/pdf/publications/electronic_cigarettes.pdf
นพรัตน์ รัตนวราภรณ์, ธนพร เบญจพะ, ชวนพิศ ตฤนานนท์. การตรวจสารนิโคตินในของกลางบุหรี่ไฟฟ้า [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 24]. เข้าถึงได้จาก:http://innovation.dmsc.moph.go.th/InnovationV1.6/ProfileProject.php?ROW_REF=397&PERSON_ID=405
จารุวรรณ เกษมทรัพย์. บุหรี่ไฟฟ้าในมิติของสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย กฎหมายและเศรษฐกิจในประเทศไทย. วารสารเกษมบัณฑิต 2561; 19(2): 92-107.
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, วศิน พิพัฒนฉัตร. ภัยร้าย ซ่อนเร้น บุหรี่ไฟฟ้า. กรุงเทพฯ: เจริญดี มั่นคงการพิมพ์; 2562.
ชนิกา เจริญจิตต์กุล, ชฎาภา ประเสริฐทรง. บุหรี่ไฟฟ้า: ภัยเงียบของวัยรุ่น. วารสารพยาบาลทหารบก 2557; 15(3): 149-54.
CBS News. Electronic cigarette explodes in man's mouth, causes serious injuries. [serial online]. 2012 [cited 2021 June 8]. Available from: https://www.cbsnews.com/news/electronic-cigarette-explodes-in-mans-mouth-causes-serious-injuries/
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. เมื่อโลกออนไลน์กลายเป็นตลาดขายบุหรี่ : ผลิตภัณฑ์ยาสูบรูปแบบใหม่ [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 30]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ashthailand.or.th/smartnews/post/detail/286
อรลักษณ์ พัฒนาประทีป. การขับเคลื่อนเชิงนโยบายการควบคุมบุหรี่ไฟฟ้าของประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 30]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2019/08/17567
มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. กลยุทธ์การตลาดบุหรี่ ไล่ล่าวัยรุ่นเป็นฐานลูกค้าใหม่ [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 30]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ashthailand.or.th/smartnews/post/detail/508
จิระวัฒน์ อยู่สบาย. เครือข่ายต้าน‘ยาสูบ’กระทรวงพาณิชย์คงมาตรการห้ามนำเข้าบุหรี่ไฟฟ้า [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 30]. เข้าถึงได้จาก: https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_1632910
ยชญ์รวินทร์ จรบุรมย์, พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์, ปัญจภรณ์ ยะเกษม, รัชพร ศรีเดช, อนุสรณ์ แน่นอุดร. บทบาทพยาบาลในการสร้างเสริมการรับรู้ของวัยรุ่นต่ออันตรายของบุหรี่ไฟฟ้า. วารสารพยาบาล 2564; 70(1): 52-60.
กองการพยาบาล สำานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์สื่อตะวัน; 2561.
บุญชัย พิริยกิจกําจร, นิรชร ชูติพัฒนะ. แนวทางการป้องกัน และลด ละ เลิกบุหรี่ของเยาวชน จังหวัดสงขลา. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2561; 5(1): 108-23
เนติกาญจน์ เปาโสภา, อารีย์วรรณ อ่วมตานี. การศึกษาบทบาทพยาบาลคลินิกเลิกบุหรี่. วารสารพยาบาลตำรวจ 2562; 11(2): 316-25.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9