การพัฒนารูปแบบบริการฝากครรภ์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ในเขตสุขภาพที่ 9 ตามแนววิถีชีวิตใหม่

ผู้แต่ง

  • สุจิตรา สุมนนอก ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
  • มณีรัตน์ อวยสวัสดิ์ โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา
  • ศรีประภา ลุนละวงศ์ ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา
  • ชัชฎา ประจุดทะเก ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา

คำสำคัญ:

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, การพัฒนารูปแบบ, ไอโอดีน, หญิงตั้งครรภ์

บทคัดย่อ

การวิจัยและพัฒนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การให้บริการฝากครรภ์ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ขาดสารไอโอดีนของเขตสุขภาพที่ 9, 2) พัฒนารูปแบบบริการฝากครรภ์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ในเขตสุขภาพที่ 9 ตามแนววิถีชีวิตใหม่ และ 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบบริการที่พัฒนาขึ้น แบ่งเป็น 3 ระยะ: 1) ศึกษาแนวคิดและสถานการณ์, 2) พัฒนารูปแบบบริการฝากครรภ์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ในเขตสุขภาพที่ 9 ตามแนววิถีชีวิตใหม่ และ 3) ศึกษาประสิทธิผลรูปแบบที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างคือหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกในโรงพยาบาลชุมชนเป็นกลุ่มทดลองและควบคุมกลุ่มละ 35 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบวัดความรู้เรื่องโรคขาดสารไอโอดีน ความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน พฤติกรรมบริโภคสารไอโอดีน และปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและเชิงสัมพันธ์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่าการให้บริการฝากครรภ์ในสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่วนใหญ่ดำเนินการได้ทุกกิจกรรม แต่ปรับลดขั้นตอนการให้บริการเพื่อลดโอกาสการติดเชื้อ และปรับเป็นการให้สุขศึกษารายบุคคล 2) รูปแบบบริการฝากครรภ์ เป็นการพัฒนาทักษะหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 6 ด้านคือ เข้าถึง เข้าใจ โต้ตอบซักถาม ตัดสินใจ ปรับเปลี่ยน และบอกต่อ บูรณาการกับบริการปกติในโรงพยาบาลและออนไลน์ 3) ประสิทธิผลของรูปแบบบริการ พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ด้านสุขภาพภาพรวมและรายด้าน พฤติกรรมบริโภคสารไอโอดีน และปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนคะแนนค่าเฉลี่ยความรู้ไม่แตกต่างกัน

Author Biographies

สุจิตรา สุมนนอก, ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา

นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ

มณีรัตน์ อวยสวัสดิ์, โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ศรีประภา ลุนละวงศ์, ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา

นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

ชัชฎา ประจุดทะเก, ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

References

Li M, Eastman CJ. The changing epidemiology of iodine deficiency. Nat Rev Endocrinol. 2012 Apr 3;8(7):434-40. doi: 10.1038/nrendo.2012.43.

Delong GR. Observations on the neurology of endemic cretinism.in: Delong GR, Robbins J, Condliffe PG, eds. Iodine and the Brain. New York: Plenum Press; 1989.

Delange F. Endemic cretinism. In: Braverman Le, Utiger RD, eds. The thyroid. A fundamental and clinical text. Philadelphia: Lippincott; 2000: 743-54.

Patriota ESO, Lima ICC, Nilson EAF, Franceschini SCC, Gonçalves VSS, Pizato N. Prevalence of insufficient iodine intake in pregnancy worldwide: a systematic review and meta-analysis. Eur J Clin Nutr. 2022 May;76(5):703-715. doi: 10.1038/s41430-021-01006-0.

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 2565 พ.ค. 17]. เข้าถึงได้จาก: http://nutrition2.anamai.moph.go.th/iodinedeficiency

Department of Nutrition for Health and Development (NHD), World Health Organization. Urinary iodine concentrations for determining iodine status in populations [internet]. 2013 [cited 2021 Dec 15]. Available from: https://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/85972/WHO_NMH_NHD_EPG_13.1_eng.pdf?sequence=1&isAllowed=y

นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล. รายงานการศึกษาผลของการให้ยาเม็ดเสริมไอโอดีนต่อภาวะโภชนาการไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์. กรุงเทพฯ: บริษัทสามเจริญพาณิชย์; 2562.

Sedaghati P, Ardjmand A, Sedaghati N. Does regular ergometric training have any effect on the pregnancy out come? Iran J Pediatr. 2006;16(3):325–31.

Tol A, Pourreza A, Rahimi Foroshani A, Tavasoli E. Assessing the effect of educational program based on small group on promoting knowledge and health literacy among women with type2 diabetes referring to selected hospitals affiliated to Tehran University of Medical Sciences. RJMS. 2013;19(104):10–9.

Ferguson B. Health literacy and health disparities: the role they play in maternal and child health. Nurs Womens Health. 2008 Aug;12(4):286-98. doi: 10.1111/j.1751-486X.2008.00343.x.

Tol A, Pourreza A, Tavasoli E, Rahimi Foroshani A. Determination of knowledge and health literacy among women with type 2 diabetes in teaching hospitals of TUMS. JHOSP. 2012;11(3):45-52.

กนิษฐา จำรูญสวัสดิ์, ปภาวี ไชยรักษ์. การประเมินผลนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ (ระยะครึ่งแผน). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2564.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. การวิจัยและพัฒนารูปแบบ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. 2553;2(4):1-15.

Nutbeam D. The evolving concept of health literacy. Soc Sci Med. 2008 Dec;67(12):2072-8. doi: 10.1016/j.socscimed.2008.09.050.

Manganello JA. Health literacy and adolescents: a framework and agenda for future research. Health Educ Res. 2008 Oct;23(5):840-7. doi: 10.1093/her/cym069.

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. ผลการสำรวจ Health Literacy ในกลุ่มเยาวชนอายุ 12 15 ปี. นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข; 2553.

สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4.0 เพื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน. คู่มือแนวทางการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2561.

ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ กระบวนการ ปฏิบัติการ เครื่องมือประเมิน. กรุงเทพฯ: ไอดี ออลดิจิตอลพริ๊น; 2564.

สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. คู่มือการฝากครรภ์สำหรับบุคลากรสาธารณสุข [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2565 พ.ค. 30]. เข้าถึงได้จาก: https://hp.anamai.moph.go.th/th/news-anamai/210292

ดวงฤทัย เกตุทอง. การใช้โปรแกรมเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการที่คลินิกพัฒนารูปแบบและนวัตกรรมบริการสุขภาพสตรี สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 2564 ธ.ค. 15].เข้าถึงได้จาก: https://mwi.anamai.moph.go.th/web-upload/38x012f0575ae60054c957e56c3d727e971/202012/m_news/9004/196537/file_download/7ec3d2a68fb70bb84b3aacbc37e792ab.pdf

วัลลภา สนธิเส็ง. ผลของการให้ความรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการในคลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. วารสารสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น. 2563;2(2):171-86

Chaiopanont S, Taneepanichsakul S. Effectiveness of Modified Iodine Consumption Behavior Model in Pregnant Women by Civil Society Integrated Participation in Khon Kaen Province: A Participatory Action Research. J Med Assoc Thai. 2019;102(1):86-94.

อารีย์ ภูมิภูเขียว. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการใช้เกลือไอโอดีนในหญิงวัยเจริญพันธุ์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนใหม่สามัคคี อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 2565 พ.ค. 30]. เข้าถึงได้จาก: https://www.cphos.go.th/chumphaehospital/

index.php?option=com_content&view=article&id=1350%3A2021-08-27-03-26-20&Itemid=2

รัตนาภรณ์ เฉลิมศรี, อดิศร วงศ์คงเดช, ธีรศักดิ์ พาจันทร์. การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนของหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 2562;8(1): 68-75.

อมรพรรณ ทับทิมดี. การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ อำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2559.

Sørensen K, Van den Broucke S, Fullam J, Doyle G, Pelikan J, Slonska Z, Brand H; (HLS-EU) Consortium Health Literacy Project European. Health literacy and public health: a systematic review and integration of definitions and models. BMC Public Health. 2012 Jan 25;12:80. doi: 10.1186/1471-2458-12-80.

Guttersrud Ø, Naigaga MD, Pettersen KS. Measuring Maternal Health Literacy in Adolescents Attending Antenatal Care in Uganda: Exploring the Dimensionality of the Health Literacy Concept Studying a Composite Scale. J Nurs Meas. 2015;23(2):50E-66. doi: 10.1891/1061-3749.23.2.E50.

Brach C, Keller D, Hernandes LM, Baur C, Parher R, et al. Attributes of Health Literate Organization, Discussion Paper, Institute of Medicine of the Nation Academies; 2012.

Bryan C. Provider and policy response to reverse the consequences of low health literacy. J Healthc Manag. 2008 Jul-Aug;53(4):230-41.

Rudd ER. The evolving concept of health literacy : new direction for health literacy studies. Journal of Communication Healthcare. 2015; 8(1):7-9.

Kripalani S, Weiss BD. Teaching about health literacy and clear communication. J Gen Intern Med. 2006 Aug;21(8):888-90. doi: 10.1111/j.1525-1497.2006.00543.x.

WHO. Life Skills Education for children and adolescences in school. London: WHO; 1994.

Radecki CM, Jaccard J. Perception of knowledge, actual knowledge, and information search behavior. Journal of Experimentation Social Psychology. 1995; 31(2):107-38.

McKinn S, Linh DT, Foster K, McCaffery K. Distributed Health Literacy in the Maternal Health Context in Vietnam. Health Lit Res Pract. 2019 Feb 5;3(1):e31-e42. doi: 10.3928/24748307-20190102-01.

Bandura A. Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change. Psychol Rev. 1977 Mar;84(2):191-215. doi: 10.1037//0033-295x.84.2.191.

Renkert S, Nutbeam D. Opportunities to improve maternal health literacy through antenatal education: an exploratory study. Health Promot Int. 2001 Dec;16(4):381-8. doi: 10.1093/heapro/16.4.381.

Karamolahi PF, Bostani Khalesi Z, Niknami M. Efficacy of mobile app-based training on health literacy among pregnant women: A randomized controlled trial study. Eur J Obstet Gynecol Reprod Biol X. 2021 Aug 27;12:100133. doi: 10.1016/j.eurox.2021.100133.

Solhi M, Abbasi K, Ebadi Fard Azar F, Hosseini A. Effect of Health Literacy Education on Self-Care in Pregnant Women: A Randomized Controlled Clinical Trial. Int J Community Based Nurs Midwifery. 2019 Jan;7(1):2-12. doi: 10.30476/IJCBNM.2019.40841.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-09