การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการใช้พัดลมชนิดมือถือกับการฝึกหายใจ โดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลมเพื่อลดอาการเหนื่อยในผู้ป่วยระยะท้ายที่ เข้ารับการรักษาแบบประคับประคอง
คำสำคัญ:
พัดลมมือถือ, การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม, การหายใจลำบาก, ผู้ป่วยระยะสุดท้าย, การดูแลแบบประคับประคองบทคัดย่อ
อาการเหนื่อยเป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่รับการรักษาแบบประคับประคอง และนำมาซึ่งความทุกข์ทรมานและความไม่สุขสบาย การลดความไม่สุขสบาย สามารถทำได้หลายวิธี ทั้งการใช้ยา เช่น ยากลุ่ม Opioid และการไม่ใช้ยา เช่น การใช้พัดลมมือถือ (Handheld fan) หรือการฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังคม (Diaphragmatic breathing) อย่างไรก็ตาม ข้อมูลด้านประสิทธิภาพของการใช้พัดลมมือในประเทศไทยยังมีจำกัด
การวิจัยแบบ Quasi experimental research มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการใช้พัดลมชนิดมือถือเป่าบริเวณใบหน้า เปรียบเทียบกับวิธีการฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม ในการลดอาการเหนื่อยของผู้ป่วยโรคมะเร็งระยะลุกลาม จำนวน 50 คน ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย โดยประเมินจากค่าเฉลี่ยคะแนน Modified Borg Scale (MBS) ที่ลดลง
ผลการศึกษา พบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนน MBS ในกลุ่มที่ใช้พัดลมชนิดมือถือ (-1.24±0.78) มีค่าลดลงมากกว่ากลุ่มที่ฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม (-0.86±1.25) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value=0.02) ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยอัตราการหายใจของกลุ่มที่ใช้พัดลมชนิดมือถือ มีค่าลดลงมากกว่ากลุ่มที่ฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value=0.7)
ในทางปฏิบัติ การเลือกใช้พัดลมชนิดมือถือเป่าบริเวณใบหน้าเพื่อลดความเหนื่อยในผู้ป่วยระยะท้าย ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าการฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม ทั้งนี้ ขึ้นกับความเจ็บป่วยของผู้ป่วย
References
Uronis HE, Currow DC, Abernethy AP. Palliative management of refractory dyspnea in COPD. Int J Chron Obstruct Pulmon Dis. 2006;1(3):289-304. doi: 10.2147/copd.2006.1.3.289.
Rogers JB, Modi P, Minteer JF. Dyspnea in Palliative Care. In: StatPearls [Internet]. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; 2022 [cited 2022 Feb 15]. Available from: http://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK526122/
Kamal AH, Maguire JM, Wheeler JL, Currow DC, Abernethy AP. Dyspnea review for the palliative care professional: assessment, burdens, and etiologies. J Palliat Med. 2011 Oct;14(10):1167-72. doi: 10.1089/jpm.2011.0109.
Ekström M, Bajwah S, Bland JM, Currow DC, Hussain J, Johnson MJ. One evidence base; three stories: do opioids relieve chronic breathlessness? Thorax. 2018 Jan;73(1):88-90. doi: 10.1136/thoraxjnl-2016-209868.
Del Fabbro E, Dalal S, Bruera E. Symptom control in palliative care--Part III: dyspnea and delirium. J Palliat Med. 2006 Apr;9(2):422-36. doi: 10.1089/jpm.2006.9.422.
Hui D, Maddocks M, Johnson MJ, Ekström M, Simon ST, Ogliari AC, Booth S, Ripamonti C; ESMO Guidelines Committee. Electronic address: clinicalguidelines@esmo.org. Management of breathlessness in patients with cancer: ESMO Clinical Practice Guidelines†. ESMO Open. 2020 Dec;5(6):e001038. doi: 10.1136/esmoopen-2020-001038.
Gugnani DA, Mehandiratta DC. Effect of Diaphragmatic Breathing and Pursed Lip Breathing in Improving Dyspnea- A Review Study. Eur J Mol Clin Med. 2020 Dec 14;7(6):2643–6. doi: 10.1177/0972753121990193.
Morélot-Panzini C. Fooling the brain to alleviate dyspnoea. Eur Respir J. 2017 Aug 17;50(2):1701383. doi: 10.1183/13993003.01383-2017.
Schwartzstein RM, Lahive K, Pope A, Weinberger SE, Weiss JW. Cold facial stimulation reduces breathlessness induced in normal subjects. Am Rev Respir Dis. 1987 Jul;136(1):58-61. doi: 10.1164/ajrccm/136.1.58.
Galbraith S, Fagan P, Perkins P, Lynch A, Booth S. Does the use of a handheld fan improve chronic dyspnea? A randomized, controlled, crossover trial. J Pain Symptom Manage. 2010 May;39(5):831-8. doi: 10.1016/j.jpainsymman.2009.09.024.
Kako J, Morita T, Yamaguchi T, Kobayashi M, Sekimoto A, Kinoshita H, Ogawa A, Zenda S, Uchitomi Y, Inoguchi H, Matsushima E. Fan Therapy Is Effective in Relieving Dyspnea in Patients With Terminally Ill Cancer: A Parallel-Arm, Randomized Controlled Trial. J Pain Symptom Manage. 2018 Oct;56(4):493-500. doi: 10.1016/j.jpainsymman.2018.07.001.
Puspawati NLPD, Sitorus R, Herawati T. Hand-held Fan Airflow Stimulation Relieves Dyspnea in Lung Cancer Patients. Asia Pac J Oncol Nurs. 2017 Apr-Jun;4(2):162-167. doi: 10.4103/apjon.apjon_14_17.
Wong SL, Leong SM, Chan CM, Kan SP, Cheng HW. The Effect of Using an Electric Fan on Dyspnea in Chinese Patients With Terminal Cancer. Am J Hosp Palliat Care. 2017 Feb;34(1):42-46. doi: 10.1177/1049909115615127.
Qian Y, Wu Y, Rozman de Moraes A, Yi X, Geng Y, Dibaj S, Liu D, Naberhuis J, Bruera E. Fan Therapy for the Treatment of Dyspnea in Adults: A Systematic Review. J Pain Symptom Manage. 2019 Sep;58(3):481-486. doi: 10.1016/j.jpainsymman.2019.04.011.
Bernard R. Fundamentals of Biostatistics. 5th ed. Duxbery: Thomson learning; 2000.
Bausewein C, Booth S, Gysels M, Kühnbach R, Higginson IJ. Effectiveness of a hand-held fan for breathlessness: a randomised phase II trial. BMC Palliat Care. 2010 Oct 19;9:22. doi: 10.1186/1472-684X-9-22.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9