ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของเด็กวัยรุ่น ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • ธนพร สมออ่อน วิทยาลัยพยาบาลบรราชชนนีขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ณัธธิตา ประทุมทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ณัฐกิตติ์ มั่นยืน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ณัฐนันท์ เทียนแจ่ม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • อัครเดช ศรีงาม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • อริษา พันทอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • สุพิศตรา พรหมกูล ภาควิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, เด็กวัยรุ่น, ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของเด็กวัยรุ่น และศึกษาระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพของเด็กวัยรุ่นที่มีอายุระหว่าง 15-18 ปี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 385 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีการตรวจสอบความเที่ยงตรงด้านเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน และวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติ Fisher's exact test

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ อยู่ในระดับสูงร้อยละ 75.3 โดยมีความรอบรู้รายด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านความรู้ความเข้าใจ เท่ากับ 5.14 (SD=0.55) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านทักษะการตัดสินใจ เท่ากับ 4.05 (SD=0.59) และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของวัยรุ่น คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ จำนวนเวลาในการออกกำลังกาย มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05

Author Biographies

ธนพร สมออ่อน, วิทยาลัยพยาบาลบรราชชนนีขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3

ณัธธิตา ประทุมทอง, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3

ณัฐกิตติ์ มั่นยืน, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3

ณัฐนันท์ เทียนแจ่ม, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3

อัครเดช ศรีงาม, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3

อริษา พันทอง, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3

สุพิศตรา พรหมกูล, ภาควิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

อาจารย์

References

กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562 [อินเตอร์เน็ต]. สำนักพิมพ์เกษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซด์. 2563. [เข้าถึงเมื่อ 2566 มกราคม 22]; เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1035820201005073556.pdf

คนไทยตายด้วยโรค NCDs ชั่วโมงละ 37 คน เร่งป้องกัน-ควบคุมไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน[อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มกราคม 20]; เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2018/08/16157

ชินตา เตชะวิจิตรจาร. ความรอบรู้ทางสุขภาพ: กุญแจสำคัญสู่พฤติกรรมสุขภาพและผลลัพธ์สุขภาพที่ดี. วารสารพยาบาลทหารบก 2561;19 (ฉบับพิเศษ):1-11.

กองสุขศึกษา. สรุปผลการประเมินศักยภาพในการจัดการสุขภาพตนเองของประชาชนกลุ่มเป้าหมายปีงบประมาณ พ.ศ.2566. กลุ่มแผนงานและประเมิน กองสุขศึกษา. 2566.

วิมล โรมา, บรรณาธิการ. รายงานการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ. 2562 [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มกราคม 17] เข้าถึงได้จาก: https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5216?locale-attribute=th

บังอร กล่ำสุวรรณ์, ชนิดาภา วงษ์รักษา, สุวิชชา สังข์ทอง, สุภาภรณ์ ศรีสุพรรณ, ปาริชาต ภามนตรี. การพัฒนารูปแบบโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น. 2564;28(2):95-105.

Nutbeam D. Health education and health promotion revisited. Health Education Journal. 2019;78(6):705-9.

ศรีสุดา บุญขยาย.การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป กรณีศึกษาเขตสุขภาพที่ 4. สระบุรี: กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนากำลังคน ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี; 2562.

ทรรศนีย์ บุญมั่น. ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย. [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต]. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2564.

ปาจารา โพธิหัง. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2564;29(3):115-30.

กิติพงษ์ เรือนเพ็ชร, สุภิศา ขำอเนก, อภิสรากรณ์ หิรัณย์วิชญกุล, สุวรัตน์ ธีระสุต, ศิริลักษณ์ สุวรรณวงษ์. ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส. ของนิสิตพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2566;17(1):1-12.

สุขสม พรหมสาลี, ศรัชฌา กาญจนสิงห์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพเด็กวัยเรียนเขตสุขภาพที่ 6 [อินเตอร์เน็ต]. กระทรวงสาธารณสุข. 2565. [เข้าถึงเมื่อ 2566 มกราคม 17] เข้าถึงได้จาก: http://do6.new.hss.moph.go.th:8080/fileupload_doc/2023-01-10-7-23-4664714.pdf

ประไพ กิตติบุญถวัลย์, จีราภรณ์ ชื่นฉ่ำ, ศักดิ์มงคล เชื้อทอง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียน. วารสาร มจร. การพัฒนาสังคม. 2565;7(2):71-84.

ธีรศักดิ์ ศรีพิทักษ์, นิรชร ชูติพัฒนะ, อิสระ ทองสามสี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายเพื่อป้องกันโรคอ้วนของนักเรียนวัยรุ่น จังหวัดยะลา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10; 2561;1529-45.

ศิริวรรณ ชอบธรรมสกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคอ้วนของนักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา. 2562; 8(1):116-23.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-06