การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาลในโรงพยาบาลวิทยาลัยการแพทย์ ธากา สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ, พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาล, พยาบาลบทคัดย่อ
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาลมีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับวิชาชีพการพยาบาลซึ่งจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพการให้บริการและการพัฒนาวิชาชีพ วัตถุประสงค์ของการศึกษาแบบพรรณนาหาความสัมพันธ์นี้เพื่อหาระดับการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาลและเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาลในโรงพยาบาลวิทยาลัยการแพทย์ ธากา สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยพยาบาลจากโรงพยาบาลวิทยาลัยการแพทย์ 3 แห่งในธากา จำนวน 293 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบวัดการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจพัฒนาโดย พร็อบส์ (2005) และแบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรพัฒนาโดย ลีและอัลเลน (2002) ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของแบบวัดการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและแบบวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาล เท่ากับ .80, .81 และ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบอันดับที่ของสเพียร์แมน
ผลการศึกษาพบว่าว่าระดับของการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและระดับของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรทั้งในภาพรวมและด้านบุคคลรวมถึงด้านองค์กรของพยาบาลอยู่ที่ระดับปานกลาง ( = 20.96, SD = 5.55, = 54.92, SD = 1.57, = 28.40, SD = 7.31 และ = 26.51, SD = 8.69)ตามลำดับการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรทั้งด้านองค์กรและด้านบุคคลของพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.994, p = 0.000; r = 0.987, p = 0.000; r = 0.980, p = 0.000) ตามลำดับผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำผลการศึกษาไปใช้ในการพัฒนากลยุทธ์ในการเพิ่มการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของพยาบาลต่อไป
References
Bartlett, C. A., & Ghoshal, S. (1987). Managing across borders: New strategic requirements. MIT Sloan Management Review, 28(4), 7-17.
Directorate of Nursing Services. (2012). Report of the directorate of nursing services: 2012. Retrieved from http://www.dns.gov.bd
George, J. M., & Brief, A. P. (1992). Feeling good-doing good: A conceptual analysis of the mood at work-organizational spontaneity relationship. Psychological Bulletin, 112(2), 310-329.
Israel, G. D. (2003). Determining sample size. Institute of Food and Agricultural Sciences, University of Florida. Retrieved from http://edis.ifas.ufl.edu/PD
Karasek, R. A. (1979). Job demands, job decision latitude, and mental strain: Implications for job redesign. Administrative Science Quarterly, 24(2), 285-309.
Lee, K. & Allen, N. J. (2002). Organizational citizenship behavior and workplace deviance: The role of affect and cognitions. Journal of Applied Psychology, 87, 131-142
LePine, J. A., Erez, A., & Johnson, D. E. (2002). The nature and dimensionality of organizational citizenship behavior: A critical review and meta-analysis. Journal of applied Psychology, 87(1), 52-65. doi:10.1037/0021-9010.87.1.52
Mangold, K. L., Pearson, K. K., Schmitz, J. R., Scherb, C. A., Specht, J. P., & Loes,
J. L. (2006). Perceptions and characteristics of Registered Nurses involvement in decision making. Nursing Administration Quarterly, 30(3), 266-272.
Miller, K. I., & Monge, P. R. (1986). Participation, satisfaction, and productivity: A meta-analytic review. Academy of Management Journal, 29(4), 727-753. doi:10.2307/255942
Organ, D. W. (1988). Organizational citizenship behavior: The good soldier syndrome. Lexington, MA: Lexington Books
Podsakoff, P. M., Ahearne, M. and MacKenzie, B. S. (1997). Organizational Citizenship Behavior and the Quantity and Quality of Work Group Performance, Indiana University Bloomington Journal of Applied Psychology, 82, 2, 262-270
Podsakoff, P. M., MacKenzie, S. B., Paine, J. B., & Bachrach, D. G. (2000). Organizational citizenship behaviors: A critical review of the theoretical and empirical literature and suggestions for future research. Journal of Management, 26(3), 513-563. doi:10.1177/014920630002600307
Podsakoff, P. M., MacKenzie, S. B., & Organ, D. W., (2006). Organizational citizenship behavior: Its nature, antecedents, and consequences. London: Sage Publications.
Probst, T. M. (2005). Countering the negative effects of job insecurity through participative decision making: Lessons from the demand-control model. Journal of Occupational Health Psychology, 10(4), 320-329.
Siong, K. S. (2012). The level and effects of participation in decision making (PDM) on employee groups for the manufacturing and servicing sectors in Malaysia (Unpublished master’s thesis). University Tunku Abdul Rahman.
Somech, A. (2010). Participative decision making in Schools: A mediating-moderating analytical framework for
understanding School and Teacher outcomes. Faculty of Education, University of Haifa, Mount Carmel,
Haifa, Israel.
Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis. Retrieved from http://www.gobookee.net/get_book.php
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารพยาบาลสาร
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว