การวิเคราะห์สถานการณ์การนิเทศทางการพยาบาลของผู้ตรวจการพยาบาล นอกเวลาราชการห้องผ่าตัด โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • ชญานุช ตรงต่อกิจ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบัาลพุทธชินราชี พิษณุโลก
  • อรอนงค์ วิชัยคำา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กุลวดี อภิชาติบุตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การนิเทศทางการพยาบาล, การวิเคราะห์สถานการณ์

บทคัดย่อ

การนิเทศทางการพยาบาลเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพการบริการในโรงพยาบาลและเป็นกิจกรรมสำาคัญ
ของผู้บริหารทุกระดับ การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การนิเทศทางการพยาบาล
ของผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการและเพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาการนิเทศทางการพยาบาลของ
ผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการ ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก โดยใช้แนวคิดการประเมิน
คุณภาพของ Donabedian (2003) ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านโครงสร้าง ด้านกระบวนการ และด้านผลลัพธ์
กลุ่มประชากรทั้งหมดจำานวน 35 คน ประกอบด้วย ผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการ จำานวน 5 คน และพยาบาลวิชาชีพเวรนอกเวลาราชการ จำานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แนวคำาถามสำาหรับการสัมภาษณ์
รายบุคคลและแนวคำาถามสำาหรับการประชุมกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า
1. ด้านโครงสร้าง พบว่า ห้องผ่าตัดมีการกำาหนดนโยบายและรูปแบบการนิเทศทางการพยาบาลของผู้ตรวจการ
นอกเวลาราชการยังไม่ชัดเจน มีการวางแผนการนิเทศในแต่ละเวร แต่ไม่มีการจัดทำารูปเล่มเป็นลายลักษณ์อักษร
แบบพรรณนาลักษณะงานของผู้ตรวจการไม่มีความเฉพาะเจาะจง และเครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศทางการพยาบาล
ของผู้ตรวจการมีน้อยและไม่ครอบคลุม จึงเสนอแนะให้มีการจัดทำานโยบายและรูปแบบการนิเทศทางการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ตรวจการนอกเวลาราชการปฏิบัติงานตามมาตรฐานงานห้องผ่าตัด จัดทำาแบบฟอร์มการนิเทศของผู้ตรวจการจัดทำาพรรณนาลักษณะงานให้ชัดเจนและมีแนวทางปฏิบัติในการใช้เครื่องมือการนิเทศที่เป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจนสามารถปฏิบัติงานไปในแนวทางเดียวกัน
2. ด้านกระบวนการ พบว่า การวางแผนในการนิเทศไม่ชัดเจนและไม่เป็นรูปธรรม การกำาหนดโครงสร้างใน
การนิเทศไม่ชัดเจน การสร้างแรงจูงใจให้ผู้รับการนิเทศไม่เพียงพอ การควบคุมการปฏิบัติงานมีรูปแบบไม่ชัดเจน และไม่มีแบบประเมินที่เป็นรูปธรรม ดังนั้นเสนอแนะให้มีการกำาหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจการในแต่ละวัน มีการจัดโครงสร้างการปฏิบัติงานให้รู้บทบาทและหน้าที่ของการนิเทศ ควรมีการจัดทำาแบบฟอร์มที่ใช้ในการควบคุมการปฏิบัติงาน และจัดทำาแบบประเมินการปฏิบัติงาน

3. ด้านผลลัพธ์ พบว่า ผู้รับการนิเทศมีความพึงพอใจบางส่วนในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจการนอกเวลาราชการ
เสนอแนะให้ส่งเสริมผู้ตรวจการได้รับการอบรมเกี่ยวกับการนิเทศทางการพยาบาล
ดังนั้นจึงควรมีการนำาเสนอผลการศึกษาต่อผู้บริหารทางการพยาบาลเพื่อนำาไปพัฒนารูปแบบการนิเทศทาง
การพยาบาลของผู้ตรวจการพยาบาลนอกเวลาราชการ

References

Boonruang, S. (2001). The development of the unofficial-time nursing supervision model atNong Bua Lum Phu Hospital (Master's thesis, Khon Khan University). (In Thai)

Department of Nursing, Siriraj Hospital. (2014). Job description (2nd ed.). Bangkok: Siriraj Hospital.

Donabedian, A. E. (2003). An introduction to quality assurance in health care. New York: TheAmerican University of Armenia.

Dowling, S. (1992). Implementing the supvisory process: Theory and practice. New Jersey:Pretice Hall.

Juntrareungrit, S. (2007). The development of the unofficial-time nursing supervisors model inNangrong hospital, Burirum province (Independent Study, Khon Khan University). (In Thai)

Hirunroj, T. (2001). Supervision of supervisory nurses over official time at fort Suranaree Hospital,Changwat Nakhon Ratchasima (Independent Study, Khon Khan University). (In Thai)

Kanchanabat, B. (2007). Nursing administration. Khon Kaen: Faculty of Nursing, Khon Kaen University.(In Thai)

Kittiratchada, S. (2009). Nursing supervision implementation to quality. Bongkok: Samjareanpanich.(In Thai)

Kongkasawat, T. (2005). 10 important causes for performance evaluations. Retrieved from http://www.excelexperttraining.com/hr/2005/05/10.html (In Thai)

Kumloypha, K. (2009). Development of a Nursing Supervision Model in the Nursing Organizationof Kangsanamnang Hospital, Nakhonratchsima Province (Independent Study, Khon KaenUniversity). (In Thai)

Lester, B. R. (1974). What every supervisor should know. New York: McGraw-Hill Book.

Ostergren, J. (2011). The first year of professional service in speech-language pathology: Supervisory role, working relationships, and satisfaction with supervision. Contemporary Issues in Communication Science and Disorders, 38, 61-75.

Othaganont, P. (1996). Nursing supervision. In Professional experience in nursing unit 11-13, Bangkok:Sukhothai Thammathirat Open University. (In Thai)

Phattanapapron, S. (2002). The development of the unofficial-time nursing supervisors model in Surin Hospital (Master's thesis, Khon Khan University). (In Thai)

Roongsai, M. (2002). Development of a nursing supervision model in the nursing organization ofKhaosuankwang Hospital Khon Kaen Province (Independent Study, Khon Khan University).(In Thai)

Santong, N. (2005). Techniques for Job description based on Competency and KPI (2nd ed.).Bangkok: H R Center. (In Thai)

Suwannapap, D., Tammakun, T., Seubsaion, S., & Homsuwan, R. (2008). The after-hour nursing supervision model development at Buddhachinaraj Phitsanulok hospital. Journal of Health Science, 17(1), 227-236. (In Thai)

Suwannimitr, A. (2013). Nursing administration (2nd ed.). Maha Sarakham: Aphichatkanpim.

Swansburg, R. G. (1990). Management and leadership for nurse managers. Boston: Jones and Bartlett.

Taupradist, U. (1995). A development of the supervision model of evening nurse supervisors(Master’s thesis, Chulalongkorn University). (In Thai)

Tunnukit, P. (2015). The development of participated nursing supervision model in Surgical Ward,BMA General Hospital. Journal of Charoen Krung Pracharak Hospital, 10(2), 13-24. (In Thai)

Tuntiphalacheva, K. (1996). Nursing organization & administration. Bangkok: Kitjarean. (In Thai)

Vanichpunjapon, V., & Kittiratchada, S. (2008). Nursing supervision implementtation to quality.Nonthaburi: Pissawanvaree. (In Thai)

Wannasarn, S. (2012). Development of nursing supervision among after-hours nurse supervisors,Nakornping Hospital Chiang Mai Provice (Independent Study, Chiangmai University). (In Thai)

Wannasarn, S., Chontawan, R., & Sirakamon, S. (2013). Development of nursing supervision among after-hours nurse supervisors, Nakornping Hospital Chiang Mai Provice. Nursing Journal, 40(special), 57-67. (In Thai)

Xayaphet, K., Sirakamon, S., & Akkadechanunt, T. (2015). Development of job description for head nurses, Savannakhet Provincial Hospital, Lao People's Democratic Republic. NursingJournal, 42(2), 12-23. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-08