9 ทศวรรษ รังสีวิทยาประเทศไทย
คำสำคัญ:
รังสีวิทยา, การวินิจฉัยทางการแพทย์, ประวัติรังสีวิทยาบทคัดย่อ
รังสีวิทยา เป็นสาขาวิชาที่อาจกล่าวได้ว่า มีความเกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขในทุกสาขา เนื่องจากรังสีวิทยามีส่วนทำให้การวินิจฉัยทางการแพทย์ เกิดความแม่นยำขึ้น เป็นผลดีต่อการวางแผนการรักษา และเพื่อที่จะทำให้ครอบคลุมโรค มีความถูกต้องเป็นผลดีกับผู้ป่วยมากที่สุด ในประเทศไทยรังสีวิทยามีประวัติความเป็นมายาวนาน ต่อเนื่อง และมีพัฒนาการมาเป็นลำดับ บทความวิชาการนี้ได้ประมวลเหตุการณ์ต่าง ๆ รวมทั้ง ปูชนียบุคคลที่ได้ริเริ่มให้มีการศึกษาด้านรังสีขึ้นในประเทศไทย สำหรับผู้อ่านจะได้ศึกษาปูมประวัติรังสีวิทยาในแง่มุมต่าง ๆ รวมทั้งเป็นการบันทึกไว้เพื่อการพัฒนาต่อยอดความรู้ในอนาคต
Downloads
References
Fölsing A. Wilhelm Conrad Röntgen: Aufbruch ins Innere der Materie. C. Hanser; 1995.
Gunderman RB. X-Ray Vision: The Evolution of Medical Imaging and Its Human Significance. 1 edition. Oxford University Press; 2012.
Reed AB. The history of radiation use in medicine. Journal of Vascular Surgery. 2011;53(1, Supplement):3S-5S. doi:10.1016/j.jvs.2010.07.024
Nobel Media AB 2020. Wilhelm Conrad Röntgen – Biographical. NobelPrize.org. Accessed February 10, 2020. https://www.nobelprize.org/prizes/physics/1901/rontgen/biographical/
Wilhelm Röntgen. In: Wikipedia. ; 2020. Accessed February 18, 2020. https://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Wilhelm_R%C3%B6ntgen&oldid=968020552
Lundqvist S. Physics, 1901-1921. World Scientific; 1998.
ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ประวัติภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. Accessed February 14, 2020. https://sirirajradiology.com/dep-history/
แพทยสภา. 48 ปี แพทยสภา 48 ปูชนียแพทย์. แพทยสภา; 2559.
สุพจน์ อ่างแก้ว. ที่ระลึกอายุครบ 6 รอบ ผศ.นพ.สุพจน์ อ่างแก้ว 15 ธันวาคม 2542.; 2542.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และคณาจารย์ท่านอื่น ในราชวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว