การศึกษาการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ กรณีศึกษาการดำเนินงานพื้นที่ต้นแบบการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเหนือ
คำสำคัญ:
พัฒนาการเด็ก, เด็กก่อนวัยเรียน, โภชนาการ, สุขภาพช่องปากบทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นรูปแบบเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการดำเนินงานพื้นที่ต้นแบบการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กด้านการส่งเสริมพัฒนาการ ส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต และการดูแลสุขภาพช่องปาก 2) ศึกษารูปแบบการดำเนินการพื้นที่ต้นแบบ ด้านการส่งเสริมพัฒนาการ ส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต และการดูแลสุขภาพช่องปาก ของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน เครื่องมือในการวิจัย การเก็บข้อมูลใช้แนวคำถามการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย การดำเนินการต้นแบบศูนย์พัฒนาเด็กเล็กครอบคลุมทั้ง 3 ด้านได้แก่ ด้านการส่งเสริมพัฒนาการ ส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต และการดูแลสุขภาพช่องปาก 1) ด้านบริบท พบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ คือ มีการดำเนินงานตามนโยบาย ความร่วมมือในพื้นที่ การจัดการด้านสถานที่และบุคลากรให้เหมาะสม- ระบบบริหารมีความชัดเจน การประยุกต์ใช้ทรัพยากรในพื้นที่ 2) ด้านปัจจัยนำเข้า การใช้งบประมาณภายในและภายนอก ความร่วมมือของหน่วยงานในชุมชน ประสบการณ์ของบุคลากรมีประสบการณ์เพียงพอ ชุมชนมีส่วนร่วมในการกำหนดประเด็น และร่วมทำแผนในการพัฒนาภาวะสุขภาพของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาการเด็กเล็ก 3) ด้านกระบวนการ พบว่า มีคณะกรรมการ การดำเนินกิจกรรมเชิงรุก 4) ด้านผลผลิตพบว่า มีการดำเนินการตามแผน และมีการถอดบทเรียน ตามขั้นตอน และเด็กมีการดูแลตามมาตรฐาน
References
Archananupap, S, (1998) The evolution of international health promotion (2nd ed.) Nonthaburi, (in Thai)
Boonsang, A. Butsorn, A. Loasupap, K. (2022). Results from the Development Process for Local Health Security Fund Mentor Team, National Health Security Office Region 10, Ubon Ratchathani Regional Health Promotion Center 9 Journal; 16(1), 313-324.
Ðurišic, M. & Bunijevac, M. (2017). Parental Involvement as an Important Factor for Successful Education. C.E.P.S. Journal, 7(3), 137-153.
Inspection Division Ministry of Public Health, (2019). Inspection report of Ministry of Public Health. Available http://bie.moph.go.th/einsreport/reporttk2_ch.php?nasubject_id =285&id_ regroup=2&id_area=1&around=2&id_group=1&year=2562.available [10/1//2020] (in Thai)
Kulakul, J. 2016. The Factors Affecting the Operation Effectiveness Improvement of Child Development Centers under the Local Government Organizations in the North-eastern Region of Thailand. Journal of Community Department and Life Quality. 4(3): 337-348.
Manratohl, S., Palanukunwong, O., Nawsuwan. (2021). Factors related to the prevalence of dental caries in preschool children in the child development center Khuan niang Distric, Songkhla Province. Thai Dental Nurse Journal. 32(1), 103-114. (in Thai)
Monthain, T., Narkpoy, L., & Aiemphaya, K. (2021). Educational Administrators Personality Affecting Standard Implementation Of Child Development Centers Under The Local Administrative Organization Sriracha District Chonburi Province. The Journal of Sirindhornparithat, 22(1), 280-294.
National Health Security Board. (2018). Announcement of criteria to encourage local government organizations to operate and manage the health insurance system at the local or local level, 2018. (in Thai)
National Health Security Office. (2017). The local government's Master Area Operations Manual: early childhood health care in the Child Development Center and diabetes and high blood pressure prevention and control, Sahamit Printing and Publishing. Bangkok. (in Thai)
Phan, I., Kiddee, K., & Rattanaolarn, T. (2016). The Evaluation Of Potential Develop For Child Development Center Project In Local Administrative Organization Khonkaen Province. 15 (1), 21-27.
Phongdet, K. (2015). Management Of Child Development Center : L0cal Administrative Organization Mae Taeng District, Chiang Mai Province. Ganesha Journal. (in Thai)
Prapassarakarn, S. (2015). The Potential and Strength of Community Organizations in Supanburi Province. Local Administration Journal, 3, 28-45. (In Thai)
SanSuk, B, Sanposh, K., Nanudon, P., & Pengchan, T. (2014) Development Strategies of Management system for Early Childhood Center Under Local Administrative Organization. Journal Of Language, Religion And Culture; 3(1), 27-46. (in Thai)
SongKalng. K & Wongthanawasu, S. (2011) Strategies for Creating Excellent Child Development Centers as a National Model. Local Administration Journal, 4(1): 57-69. (in Thai)
Stufflebeam, D. L., Foley, W. J., Gephart, W. T., Guba, E. G., Hammon, R. L., Meriman, H. O., &
Suwannathe, W. & Chalakbang, W. (2016). Quality of Early Childhood Education : Causal Factors. Veridian E-Journal, Silpakorn University; 9(3), 151-164. (in Thai)
Suwin Srimuang, (2018), Parental Involvement Factors In Preschool Children Development: A Case Study Of The Pre-school Child Development Center, Nongkhaem Bangkok. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University; 12, 174-183. (in Thai)
Thongtaeng, P. & Seesawang, J. (2012). Overweight in Thai Children. Ramathibodi Nursing Journal, 18(3): 287-297. (in Thai)
Wasee, P. (1998). On a new path to promote health, Apiwat life and society. (2nd ed.), Mor Chao Ban Publisher. Bangkok. (in Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว