การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกเพื่อผ่าตัดนิ่วในไตโดยการเจาะรู ส่องกล้องผ่านผิวหนัง:กรณีศึกษา2ราย
คำสำคัญ:
การให้ยาระงับความรู้สึก ,นิ่วในไต , แผนการพยาบาลบทคัดย่อ
การให้ยาระงับความรู้สึกเพื่อผ่าตัดนิ่วในไตโดยการเจาะรูส่องกล้องผ่านผิวหนัง เป็นการให้ยาระงับความรู้สึกแก่ผู้ป่วยแบบทั่วไปที่ยุ่งยากซับซ้อน อาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ในขณะผ่าตัดและต้องได้รับการแก้ไขภาวะแทรกซ้อนอย่างมีประสิทธิภาพทันที วิสัญญีพยาบาลมีบทบาทสำคัญต้องมีความรู้ความสามารถ มีทักษะและประสบการณ์การดูแลผู้ป่วยเป็นผู้แปลผลที่ได้ร่วมกับประเมินอาการแสดงของผู้ป่วยตั้งแต่การค้นหาปัญหาและร่วมแก้ไขกับทีมสุขภาพ ดังนั้นผู้ศึกษานำเสนอกรณีศึกษาผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดนิ่วในไตโดยวิธีการเจาะรูส่องกล้องผ่านผิวหนังเปรียบเทียบ 2 ราย ซึ่งกรณีศึกษา 2 รายมีส่วนคล้ายกันในเรื่องการผ่าตัด การให้ยาระงับความรู้สึก และต่างกันในเรื่องภาวะแทรกซ้อน กรณีศึกษารายที่ 1 เกิด Rt. Hydrothorax ขณะทำผ่าตัดและได้รับการแก้ไขภาวะแทรกซ้อนทันทีอย่างปลอดภัย กรณีศึกษารายที่ 2 กรณีศึกษารายนี้การทำผ่าตัดปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะการให้ยาระงับความรู้สึกและการทำผ่าตัด วัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการพยาบาลผู้ป่วยที่รับการให้ยาระงับความรู้สึกเพื่อผ่าตัดนิ่วในไตโดยการเจาะรูส่องกล้องผ่านผิวหนังกรณีศึกษา 2 ราย เพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนในการให้ยาระงับความรู้สึกและการผ่าตัดจนกระทั่งจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลกลับไปใช้ชีวิตได้อย่างปกติ ซึ่งผู้ศึกษาได้วินิจฉัยการพยาบาลเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะก่อนการให้ยาระงับความรู้สึก ระยะขณะการให้ยาระงับความรู้สึกและระยะหลังการให้ยาระงับความรู้สึก ผลการศึกษานี้สามารถเป็นแนวทางการวางแผนการพยาบาลการให้ยาระงับความรู้สึกผู้ป่วยเพื่อผ่าตัดนิ่วในไตโดยการเจาะรูส่องกล้องผ่านผิวหนังได้ สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นและเป็นข้อมูลเพิ่มเติมในการศึกษาขั้นต่อไป
References
Mani Maintains dignity. (2016). Whole body anesthesia. In: Basic Anesthesia Textbooks and
Guideline Practice. Manee maintains Kiatisak, Jariya Lert Akayamanee, Bencharat
Yokubol, Oranee Sawat-Chu To,And Parichat Apidechakul, ed. (pp 255-272).
nd time, Bangkok: P.A. Living-Running.
Minkwan Wongyingsin.(2016). Enhanced recovery after surgery. In: Textbook of Rehabilitation
in Anesthesiology. Aksorn Poonnitiporn Manee Rukkiatisak, Phon Arun Charoenrajanrut
Ruean Anukul, ed. (pp 439-444). Bangkok: P.A. Living.
Minkwan Wongyingsin.(2020). Overview of preoperative and preparation. In: Anesthesia and
Perioperative Care. Busara Siriwansan, Pichaya Waitayawinyu, Naruenat Lomarat, ed.
(pp 9-25). Bangkok: P.A. Living.
Nantason Sinbunyakun.(2014). Inoculation anesthesia.In: Anesthesiology textbook. Ankh
Pracharat, Wimonlak Sanansilp, Sirilak Suksompong and Patiphan Toomthong,ed.
(pp125-140). 4th time Bangkok: A-Plus Print.
Naruenat Lomarat.(2020). Fluid and blood transfusion. In: Anesthesia and
Perioperative Care. Busara Siriwansan, Pichaya Waitayawinyu, Naruenat Lomarat, ed.
(pp 39-52 ). Bangkok: P.A. Living.
Paphirun Noitasaeng, Suwimol Ruangwat. (2016). Patient posture. In: Basic Anesthesia
Textbook and Practice Guidelines. - Chuuto, Parichart Apidechakul. ed.
(pp 141- 157). Bangkok: P.A. Living.
.Pensiri Pumhirun. (2017). Patient care after anesthesia. In: Anesthesiology nursery to the age,
Volume 1. Oralak Rod-anan, Thitikanya Duangrat, Narut Rueananukul, ed.
(pp 294-319).Bangkok: Star Media.
Phumi Tritrakarn. (2013). Intravenous anesthesia. In: Textbook of Anesthesiology. Ankh
Pracharat, Wimonlak Sanansilp, Sirilak Suksompong and Patiphan Toomthong,
ed. (pp 105-120). 4th time Bangkok: A-Plus Print.
.
Pruet Kitirattrakarn. (2017). Kidney puncture removes a stone through the skin, guided by
fluorosope. In. Urinary stones. Manin Asawachintajit, Ekarin Chotikavanich,
Montiratanthanuch, Apirak Santinamkul, ed. (pp 152-164 ). Bangkok:
Beyond Enterprise.
Puangthong Krai Phibun. (2015). Kidney stones. 26/03/2016.
http://haamor.com/th/ Kidney stones / # article102
Sahasana Mandee. (2020). Providing full-body anesthesia. In: Anesthesia and Perioperative
Care.Butsara Siriwansan, Phichaya Waitayawinyu, and Naruenat Lomarat, ed.
(pp 93-100).Bangkok: P.A. Living.
Sirikan Siriprukpong (2019). How to position the patient to be safe during surgery. In:
Kadai Anesthesi 4.0. Wimonrat Srirat, Oralak Rodanan, Narut Ruean Anukul,
Punnawit Benjawaleemas, ed.(pp 61-92).Bangkok: Thanapress.
Sukanyadet Akom. (2020). Patient monitoring in :Anesthesia and Perioperative Care. Butsara
Siriwansan, Phichaya Waitayawinyu, Naruenat Lomarat, ed. (pp 27-38).
Bangkok: P.A. Living.
Tri Hanprasertphong. (2017). Complications of kidney puncture, removal of stones through
the skin. In. Urinary stones. Manin Asawachintajit, Ekarin Chotikavanich,
Montiratanthanuch, Apirak Santinamkul, ed. (pp 196-214). Bangkok:
Beyond Enterprise.
Worapa Suwanjinda. (1993). Respiratory Complications. In:The dangers of anesthesia.
Angkhab Prakarnrat, Worapa Suwanjinda, ed.(pp 1-29).Bangkok: Unity Billing.
Woraphong Lertweerasirikul (2012). New innovative PCNL treatment of kidney stones.
/03/2016, /
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว