รู้ทันการใช้สมาร์ทโฟนก่อนเกิดปัญหาปวดคอ

Main Article Content

ณฐพล ธนสมบูรณ์พันธุ์
รุ่งกานต์ บุญปิยวงศ์
ไชยยงค์ จรเกตุ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


 


ในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์สื่อสารต่างๆอย่างแพร่หลายในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน และอินเตอร์เนต ผู้ใช้งานมีทั้ง วัยเด็ก วัยรุ่น วันทำงาน และผู้สูงอายุ เพื่อการติดต่อสื่อสารและหาข้อมูล ผู้ใช้งานมักจะมีการเล่นสมาร์ทโฟนเป็นเวลานานจึงทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา คือ การนั่งก้มหน้าดูหน้าจอสมาร์ทโฟนนานๆ มีผลทำให้การลงน้ำหนักต่อกระดูกคอและกล้ามเนื้อผิดแนวไป ซึ่งเป็นท่าทางที่ไม่ถูกต้อง ทำให้เกิดความเสื่อมของกระดูกคอ และปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ได้ เราจึงควรปรับท่าทางการเล่นสมาร์ทโฟนให้ถูกต้องและไม่ควรเล่นเป็นเวลานาน ควรออกกำลังกายและยืดกล้ามเนื้อคอเพื่อความแข็งแรง ความยืดหยุ่นให้กับกล้ามเนื้อคอ ลดอาการปวดเมื่อยจากการใช้งานสมาร์ทโฟนได้


 


คำสำคัญ; การออกกำลังกายกล้ามเนื้อคอ, ปวดคอ, สมาร์ทโฟน, โทรศัพท์มือถือ

Article Details

บท
บทความทั่วไป

References

1. กุศล สุนทรธารา.สูงวัยกับไฮเทค.ประชากรและการพัฒนาสถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล 2556;33:6-7.
2. บทสรุปสำหรับผู้บริหารการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนพ.ศ.2559.
3. Halloran L. Mobile Devices Can Be a Real Pain. The Journal for Nurse Practitioners 2015;11:832-3.
4. Hansraj KK. Assessment of stresses in the cervical spine caused by posture and position of the head.
Surgical Technology International 2014;25:277-9.
5. เอกสารคำสอนเรื่องกระดูกสันหลังและกระดูกสันหลังระดับคอ. จิตวรี ขำเดช.โรงเรียนกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.[ม.ป.ป.].
6. อารยา เสงี่ยมพงษ์, นัทธมน ภูรีพัฒน์พงค์ คงคาสุริยฉาย. กายวิภาคศาสตร์ของโครงกระดูกมนุษย์ [ม.ป.ป.]:
69-72.
7. อำนวย อุนนะนันทน์. เรื่องของกระดูกสันหลังที่ควรรู้. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ:งานตำราวารสารและสิ่งพิมพ์ สถานเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล;2542.
8. Lee S, Kang H, Shin G. Head flexion angle while using a smartphone. Ergonomics 2515;58:220-26.
9. Guan X, Fan G, Chen Z, Zeng Y, Zhang H, Hu A. Gender difference in mobile phone use and the impact of digital device exposure on neck posture. Ergonomics 2016;58:1453-61.
10. Bo-Been Kim, Ji-Hyundai Lee, Hyo-Jung Jung Jeong, Heon-Seock Cynn. Effects of suboccipital release with craniocervical flexion exercise on craniocervical alignment and extrinsic cervical muscle activity in subjects with forward head posture. Journal of electromyography and kinesiology 2016;40:31-7.
11. Brage K, Ris I, Falla D, Sogaard K, Juul-kristensen B. Pain education combined with neck-and aerobic training is more effective at relieving chronic neck pain than pain education alone-A preliminary randomized controlled traial. Manual Therapy 2015;20:686-93.
12. Falla DL, Jull GA, Hodges PW. Patients with Neck Pain Demonstrate Reduced Electromyographic Activity of the Deep Cervical flexor Muscle During Performance of the Craniocervical flexion Test.
Spine 2004;29:2108-14.
13. Borenstein DG, Wiesel SW, Bowden SD. Neck pain medical diagnosis comprehensive management. 1st ed. Philadelphia: W.B.Saunders company; 1996.
14. Seong-Yeolkim, Sung-Ja Koo. Effect of duration of smartphone use on muscle fatique and pain caused by forward head posture in adults. The Journal of Physical Therapy Science 2016;28:1669-72.
15.Seo-Yeung Gu, Gak Hwangbo, Jeon-Hyeong Lee. Relationship between position sense and reposition errors according to the degree of upper crossed syndrome. The Journal of Physical Therapy Science 2016;28:438-41
16. สุวิมล ตั้งสัจจพจน์. หลักการออกกำลังกาย; 2526. หน้า 1-9.
17. เสก อักษรานุเคราะห์. การออกกำลังกายสำหรับคนวัยเสื่อม; 2525. หน้า 74-8.
18. ชูศักดิ์ เวชแพศย์. สรีรวิทยาของการออกกำลังกาย. พิมพ์ครั้งที่ 2;2525. หน้า 103-9.
19. แผ่นพับกายภาพบำบัดสู่ประชาชนเรื่องปวดคอ.สาขากายภาพบำบัดภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์และกายภาพบำบัด คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล SIPT ORT 1001158 เรียบเรียงโดย รุ่งกานต์ บุญปิยวงศ์, ทิพย์อาภรณ์ เรืองวุฒิสกุลชัย.