โครงการการพัฒนาระบบบริหาร จัดการยาปราศจากเชื้อในห้องยา หู ตา คอ และจมูก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล

Main Article Content

รัตติกรณ์ บุญพัฒน์
รัศมี ลีประไพวงษ์
สุภัทรา ปุญญนิรันดร์
ชญานี อิสรไกรศีล
กันตพัฒน์ ตันธนาวุฒิวัฒน์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการยาปราศจากเชื้อและเพื่อลดความสูญเสียจากปริมาณยาปราศจากเชื้อที่
หมดอายุในห้องยาหู ตา คอ และจมูก
วิธีการศึกษา: ใช้ตารางบันทึกวันหมดอายุของยาปราศจากเชื้อและการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบ QR code โดยเก็บรวบรวม
ปริมาณยาปราศจากเชื้อที่หมดอายุ ณ ห้องยาหู ตา คอ และจมูก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 4 เดือนก่อนและหลังการใช้
ตารางบันทึกวันหมดอายุของยาปราศจากเชื้อ แสดงผลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมาน
ผลการศึกษา: ระยะเวลา 4 เดือน ก่อนเริ่มดำเนินโครงการพบยาหมดอายุในห้องยาจำนวน 10 ชนิด รวม 24 รายการ
จากจำนวนสต็อกยาทั้งหมด 3,020 รายการ (ร้อยละ 0.80) คิดเป็นมูลค่ายาที่สูญเสียรวม 10,450 บาท หรือเฉลี่ย 2,615
บาทต่อเดือน และหลังเริ่มโครงการใช้ตารางบันทึกวันหมดอายุของยา พบว่าไม่มียาหมดอายุในห้องยา (ร้อยละ 0.00) ซึ่ง
อัตราการหมดอายุของยาลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001)
สรุป: การจัดทำตารางสำหรับจดบันทึกวันหมดอายุของยาปราศจากเชื้อและการสื่อสารข้อมูลผ่านระบบ QR code ในโครงการ
นี้สามารถลดมูลค่ายาหมดอายุหรือสามารถป้องกันยาหมดอายุในห้องยาได้ prevent pharmaceutical waste.

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. American Society of Health System Pharmacists. ASHP
guidelines on compounding sterile preparations. Am J Health
Syst Pharm 2014;71:145-66.
2. Falconer JR, Steadman KJ. Extemporaneously compounded
medicines. Aust Prescr 2017;40:5-8.
3. Punyer J. Good practice guidance on expiry dates of medicines
[Internet]. 2018 [cited 2019 Jun 16]. Available from:
http://www.rotherhamccg.nhs.uk/Downloads/Top%20
Tips%20and%20Therapeutic%20Guidelines/Rotherham%20
CCG%20good%20practice%20guidance%20on%20expiry
%20dates%20of%20medicines.pdf
4. American Society of Health System Pharmacists. ASHP
guidelines on pharmacist-conducted patient education and
counseling. Am J Health Syst Pharm 1997;54:431-4.
5. Billstein-Leber M, Carrillo CJD, Cassano AT, Moline K,
Robertson JJ. ASHP guidelines on preventing medication
errors in hospitals. Am J Health Syst Pharm 2018;75:1493-517.
6. American Society of Hospital Pharmacists. ASHP technical
assistance bulletin on single unit and unit dose packages
of drugs. Am J Hosp Pharm 1985;42:378-9.
7. American Society of Hospital Pharmacists. ASHP technical
assistance bulletin on pharmacy-prepared ophthalmic
products. Am J Hosp Pharm 1993;50:1462-3.
8. Hammond RW, Walker TP, Fisher McClung H, Edmondson
W. Extemporaneous preparation of antibiotic ophthalmic
solutions. J Am Pharm Assoc 1996;36:206-9.
9. Nixon HK. Preparation of fortified antimicrobial eye drops.
Kerala J Ophthalmol 2018;30:152-4.
10. Kristina SA, Wiedyaningsih C, Widyakusuma NN, Aditama
H. Extemporaneous compounding practice by pharmacists:
A systematic review. Int J Pharm Pharm Sci 2017;9:42-6.
11. Al-Badriyeh D, Li J, Stewart K, Kong DCM, Leung L, Davies
GE, et al. Stability of extemporaneously prepared voriconazole
ophthalmic solution. Am J Health Syst Pharm 2009;66:
1478-83.
12. Neoh CF, Jacob J, Leung L, Li J, Stathopoulos A, Stewart
K, et al. Stability of extemporaneously prepared 0.5-percent
caspofungin eye drops: a potential cost-savings exercise.
Antimicrob Agents Chemother 2012;56:3435-7.
13. Khangtragool A, Khantawa B, Leesawat P. Potency of
extemporaneous gentamicin eye drops used in Maharaj
Nakorn Chiang Mai Hospital. CMU J Nat Sci 2009;8:161-4.
14. Newman C. How to reduce medicines waste. Pharm J
2011;3:26-31.
15. Bekker CL, Gardarsdottir H, Egberts ACG, Bouvy ML, Van den
Bemt BJF. Pharmacists’ activities to reduce medication waste:
An international survey. Pharmacy (Basel) 2018;6:94-107.
16. หน่วยข้อมูลยาและพิษวิทยา ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช.
Solumedrol eye drop มีอายุ 1 เดือน. ศิริราชเภสัชสาร
[อินเทอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 2562 มิ.ย. 1]. เข้าถึงได้จาก: http://
www1.si.mahidol.ac.th/km/node/2561.
17. อภิรมย์ เหล่าเจริญเกียรติ. การปรับปรุงกระบวนการผลิตยาปฏิชีวนะ
สำหรับหยอดตา (Antibiotic Forte Eye Drop). ใน: ดวงมณี
เลาหประสิทธิพร, บรรณาธิการ. นวัตกรรมดีเด่น โครงการติดดาว
ประจำปี 2553 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย
มหิดล. กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีฟวิ่ง; 2555. หน้า 60-4.
18. นันท์นภัส ฟุ้งสุข, อัษฎางค์ พลนอก. การพัฒนาประสิทธิภาพการ
บริหารคลังเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อำเภออุทัย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มฉก. วิชาการ 2560;21:109-22