การจัดการทางการพยาบาลด้าน โภชนาการสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง

Main Article Content

ขนิษฐา อยู่เพ็ชร์
ปรียาภรณ์ แสงทวี
เอกพล อัจฉริยะประสิทธิ์

บทคัดย่อ

   การขาดสารอาหารหรือภาวะทุพโภชนาการเป็นปัญหาสำคัญที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคมะเร็ง อุบัติการณ์ของภาวะทุพโภชนาการ
นี้ขึ้นกับตำแหน่งของมะเร็ง ระยะของโรคและวิธีการรักษา ส่งผลให้การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง ทำให้เกิดการติดเชื้อ
รุนแรง ส่งผลให้คุณภาพชีวิตลดลง นอกจากนี้โรงพยาบาลต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากเพื่อรักษาปัญหาแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ดังนั้นปัญหาดังกล่าวจึงเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไข การให้คำแนะนำและดูแลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ จึงเป็นบทบาท
สำคัญของพยาบาล เพื่อให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับสารอาหารที่เพียงพอและลดการเผาผลาญพลังงานเพื่อป้องกันน้ำหนักลดและลด
ปัญหาแทรกซ้อน ทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น บทความนี้จะนำเสนอเกี่ยวกับเกิดภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วยโรคมะเร็ง การ
ประเมินภาวะโภชนาการ และการจัดการทางการพยาบาลด้านโภชนาการในผู้ป่วยโรคมะเร็ง

Article Details

บท
บทความทั่วไป

References

1. Custsem E, Arends J. The cause and consequences of cancerassociated
malnutrition. Eur J Oncol Nurs 2005;9:51-63.
2. ณัฐธยาน์ วีระพงษ์. บทบาทพยาบาลในการจัดการปัญหาภาวะ
โภชนาการของผู้ป่วยโรคมะเร็ง. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย
2558;8:36-40.
3. สุนทรี ภานุทัต, จำลอง ชูโต, เฉลิมศรี นันทวรรณ, อำไพวรรณ
พุ่มศรีสวัสดิ์, ทัศนีย์ พฤกษาชีวะ. การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะ
โภชนาการ. ารสารราชธานีนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
2017;1:1-13.
4. Bauer JD, Ash S, Davidson WL, Hill JM, Brown T, Isenring
EA, et al. Evidence Based Practice Guideline for the Nutritional
Management of Cancer Cachexia. Nutr Rev
2006;63:S5-S32. Doi:10.1111/j.1747-0080.2006.00099.
5. ประสงค์ เทียนบุญ. การประเมินภาวะทางโภชนาการ. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์; 2540.
6. ศุภกร หวานกระโทก. การประเมินภาวะโภชนาการ (Nutrition
Assessment). วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชลบุรี
2013;32:1-4.
7. บุญทิวา สู่วิทย์, สุณี พนาสกุลการ, เบญญาภา มุกสิริทิพานัน. การประเมิน
อาการที่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบ
ประคับประคอง. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2558;35:156-59.
8. Chang VT, Hwang SS, Feuerman M. Validation of the Edmonton
Symptom Assessment Scale. Cancer 2000;88:2164-71.
9. Wisukultttu K. Nursing management for cancer patients
experiencing anorexia. Journal of Nursing Science 2011;29:1-5.
10. บุษยามาส ชีวสกุลยง. โภชนบำบัดกับโรคมะเร็ง. วารสารโภชนบำบัด
2545;13:130-43.
11. อมรรัตน์ นธะสนธิ์. อาการและการจัดการอาการของผู้ป่วยมะเร็งที่
ได้รับเคมีบำบัด [วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต].
ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2550.
12. พวงทอง ไกรพิบูลย์. กินอย่างไรเมื่อเป็นมะเร็ง.กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี;
2557.
13. Inui A. Cancer anorexia-cachexia syndrome: current issues
in research and management. CA Cancer J Clin 2002;52:72-91.
14. Bosaeus I, Daneryd P, Lungholm K. Dietaryintake, resting
energy expenditure, weight loss and survival in cancer
patients. J Nutr 2002;132(11 Suppl):3465S-3466S