การเข็นรถนั่งคนพิการด้วยตนเองในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก

Main Article Content

ธนิน นุตรทัต
พนินทร กองเกตุใหญ่
ไพรินทร์ เลาหสินณรงค์
วาสนา วงศ์สถาน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


ผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีกเป็นผู้ที่มีความยากลำบากในการเคลื่อนที่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการทำกิจวัตรประจำวัน ทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ปัญหาในการทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ เช่น การไปอาบน้ำ    รถนั่งคนพิการเป็นอีกแนวทางที่สามารถช่วยให้ผู้ป่วยเหล่านี้สามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ๆ นอกเหนือจากการเดิน    การเข็นรถนั่งคนพิการมีหลายวิธีรวมทั้งได้มีการออกแบบรถนั่งคนพิการสำหรับผู้ป่วยเหล่านี้โดยเฉพาะ    บทความนี้จะนำเสนอเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการเข็นรถนั่งคนพิการด้วยมือและขาเพียงข้างเดียว ภายใต้การประเมินความสามารถก่อนฝึกและการทดสอบหลังฝึก เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความปลอดภัยสูงสุดและมีความมั่นใจในการนำวิธีการเหล่านี้ไปใช้ได้จริงในสังคมได้อย่างอิสระ  ลดภาวะพึ่งพิงคนรอบข้าง อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มการมีคุณค่าในตัวเองให้ผู้ป่วยอีกด้วย

Article Details

บท
บทความทั่วไป

References

1. กรมควบคุมโรค. โรคหลอดเลือดสมอง [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 7 เมษายน 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2019/10/17959
2. สำนักสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กรมควบคุมโรครณรงค์วันอัมพาตโลก ปี 2562 [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2563 มีนาคม 10]. เข้าถึงได้จาก: https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/02/133619/
3. อลิสรา เตชะไพฑูรย์, วิษณุ กัมทรทิพย์, อรฉัตรโตษยานนท์. สมรรถภาพของผู้ป่วยอัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร 2543; 9(3): 120-4.
4. Tsai KH, Lo HC. A novel design and clinical evaluation of a wheelchair for stroke patients. International Journal of Industrial Ergonomics. 2008; 38(3 - 4): 264 – 271.
5.ทศพร บรรยมาก. การประเมินการควบคุมการเคลื่อนไหว. ใน: พิศักดิ์ ชินชัย, บรรณาธิการ. กิจกรรมบำบัดสำหรับผู้มีปัญหาด้านระบบประสาท. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: ออเร้นท์กรุ๊ป เทคนิคดีไซน์; 2551. หน้า 1 - 33.
6. Barker D, Reid D, Cott C. Acceptance and Meanings of Wheelchair Use in Senior Stroke Survivors. American Journal of Occupational Therapy 2004; Volume 58:221-30.
7. วิสุทธินี เทือกทอง, วิษณุ กัมทรทิพย์, นิสากร คงศรี. ผลการลดเกร็งของแขนและมือในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากการเหยียดยืดเอ็นและกล้ามเนื้อแบบนิวโรฟิสิโอโลจิก เปรียบเทียบกับเหยียดยืดแบบออธ์โธปิดิกส์ : รายงานการวิจัยเบื้องต้น. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร 2558; 25(1) 22-29.
8. Li s, Gerard E. Francisco, Zhou P. Post-stroke Hemiplegia Gait; New Perspective and Insights. Front. Physiol 2018; vol 9: 1-8.
9. Frost S, Mynes K, Noon J, Scheffler E, Stoeckle R. Wheelchair service training package: reference manual for participants Basic level. World Health Organization 2012.
10. DiGiovanni D, Marrion V, Nina H. One-Arm Drive Manual Wheelchair [Internet]. 2009 [cited 2020 March 10]. Available from:https://digitalcommons.wpi.edu/atrc-projects/9.
11. Jung H, Park G, Kim Y, Jung H. Development and evaluation of one-hand drivable manual wheelchair device for hemiplegic patients. Applied Ergonomics 2015;48:11-21.
12.พิศักดิ์ ชินชัย. ปัญหาด้านการมองเห็นและสายตา. ใน: พิศักดิ์ ชินชัย, บรรณาธิการ. กิจกรรมบำบัดสำหรับผู้มีปัญหาด้านระบบประสาท. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: ออเร้นท์กรุ๊ป เทคนิคดีไซน์; 2551. หน้า 97-100.
13. Stewart D. One Arm Drive Systems [Internet]. 2019 [cited 2020 March 10]. Available from:
https://mobilitybasics.ca/wheelchairs/onearmdrives.
14.Charbonneau R, Lee K, Thompson K. Manual Wheelchair Propulsion by People With Hemiplegia: Within-Participant Comparisons of Forward Versus Backward Techniques. Archives of Physical Medicine and Rehabilitation 2013; Volume 94:1707-13
15. Kirby RL, Swuste J, Dupuis DJ, MacLeod DA, Monroe R. The Wheelchair Skills Test: a pilot study of a new outcome measure. 2002; Arch Phys Med Rehabil 86(1): 10 -8.