การดูแลสุขภาพช่องปากเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด : บทบาทของพยาบาล

Main Article Content

ฐิรวรรณ บัวแย้ม
ศรัญญา ตันเจริญ
นาถสุดา โชติวัฒนากุลชัย

บทคัดย่อ

โรคปริทันต์อักเสบนับว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งที่อาจทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนดขึ้นได้ ในระบบสาธารณสุขพยาบาลหน่วยฝากครรภ์ถือว่าเป็นบุคลากรด่านแรกที่มีความสำคัญในด้านการคัดกรอง เพื่อค้นหาปัญหาสุขภาพทางด้านช่องปาก เช่น การใช้แบบคัดกรอง Maternal oral assessment tool  การส่งต่อข้อมูลของสตรีตั้งครรภ์กับทีมทันตกรรม ดูแลติดตามให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับการตรวจวินิจฉัยและเข้ารับการรักษาในช่วงอายุครรภ์ที่เหมาะสม ให้ความรู้ ให้คำแนะนำที่ถูกต้องในด้านการดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอด รวมถึงควรส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพช่องปากและเข้ารับบริการตรวจรักษาในระยะตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด

Article Details

บท
บทความทั่วไป

References

1. ประภัทร วานิชพงษ์พันธุ์. คลอดก่อนกำหนด [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561 [เข้าถึงเมื่อ 10 มีนาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version/Health_detail.asp?id=1346
2. หทัยรัตน์ เรืองเดชณรงค์, ธีระ ทองสง. Update in preterm labor [อินเทอร์เน็ต]. เชียงใหม่: ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 10 มีนาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://w1.med.cmu.ac.th/obgyn/index.php?option=com_content&view=article&id=1265:update-in-preterm-labor&catid=45&Itemid=561
3. Saini R, Saini S, Saini SR. Periodontitis: A risk for delivery of premature labor and low-birth-weight infants. J Nat Sci Biol Med. 2010;1(1):40-2.
4. George A, Shamim S, Johnson M, Ajwani S, Bhole S, Blinkhorn A, et al. Periodontal treatment during pregnancy and birth outcomes: a meta-analysis of randomised trials. International journal of evidence-based healthcare. 2011;9(2):122-47.
5. Alchalabi HA, Al Habashneh R, Jabali OA, Khader YS. Association between periodontal disease and adverse pregnancy outcomes in a cohort of pregnant women in Jordan. Clin Exp Obstet Gynecol. 2013;40(3):399-402.
6. Teshome A, Yitayeh A. Relationship between periodontal disease and preterm low birth weight: systematic review. Pan Afr Med J. 2016;24:215.
7. Boggess KA, Edelstein BL. Oral health in women during preconception and pregnancy: implications for birth outcomes and infant oral health. Maternal and child health journal. 2006;10(5 Suppl):S169-74.
8. The American College of Obstetricians and Gynecologists. Preterm (premature) labor and birth: resource overview [Internet]. Washington: ACOG Department; 2019 [cited 2019 Aug 7]. Available from: https://www.acog.org/Womens-Health/Preterm-Premature-Labor-and-Birth?IsMobileSet=false
9. Chapter 2. Periodontal diseases. In: Hallmon WW, Carranza FA, Jr., Drisko CL, Rapley JW, Robinson P, editors. Periodontal literature reviews. Chicago: The American Academy of Periodontology; 1996. p. 12-35.
10. ฉัตรแก้ว บริบูรณ์หิรัญสาร. โรคปริทันต์ ถ้ารู้เท่าทันเราก็ไม่เป็น [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: งานทันตกรรม คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2560 [เข้าถึงเมื่อ 12 มีนาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version/Health_detail.asp?id=698
11. AlJehani YA. Risk Factors of Periodontal Disease: Review of the Literature. International journal of dentistry. 2014;2014. 182513.
12. Kinane DF. Causation and pathogenesis of periodontal disease. Periodontol 2000. 2001;25:8-20.
13. Ren H, Du M. Role of Maternal Periodontitis in Preterm Birth. Front Immunol. 2017;8:139.
14. กรมอนามัย. สำนักทันตสาธารณสุข. คู่มือการดูแลสุขภาพช่องปากแม่และเด็กปฐมวัย [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข; ม.ป.ป. [เข้าถึงเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://dental2.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/dental/ewt_dl_link.php?nid=1599.
15. Clemmens DA, Kerr AR. Improving oral health in women: nurses' call to action. MCN Am J Matern Child Nurs. 2008;33(1):10-4; quiz 5-6.
16. George A, Dahlen HG, Blinkhorn A, Ajwani S, Bhole S, Ellis S, et al. Measuring oral health during pregnancy: sensitivity and specificity of a maternal oral screening (MOS) tool. BMC Pregnancy Childbirth. 2016;16(1):347.
17. Committee Opinion No. 569: oral health care during pregnancy and through the lifespan. Obstet Gynecol. 2013;122(2 Pt 1):417-22.
18. กรมอนามัย. สำนักทันตสาธารณสุข. สัญญาณไฟ 3 สี สุขภาพช่องปากที่คุณแม่ควรรู้ [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข; 2562 [เข้าถึงเมื่อ 17 มีนาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://multimedia.anamai.moph.go.th/infographics/3-color-light-signal-represents-mothers-oral-health-status/
19. กรมอนามัย. สำนักทันตสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ประจำปี 2562 [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักทันตสาธารณสุข; 2562 [เข้าถึงเมื่อ 13 มกราคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://dental2.anamai.moph.go.th/download/elderly/แนวทางการดำเนินงาน2562.pdf
20. Rocha JS, Arima L, Chibinski AC, Werneck RI, Moyses SJ, Baldani MH. Barriers and facilitators to dental care during pregnancy: a systematic review and meta-synthesis of qualitative studies. Cad Saude Publica. 2018;34(8):e00130817.
21. จินตนา รัตนะ. ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ารับบริการทันตกรรมในช่วงอายุครรภ์ 4-6 เดือน ของหญิงตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาลหลังสวน จังหวัดชุมพร [วิทยานิพนธ์]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2557.
22. George A, Shamim S, Johnson M, Ajwani S, Bhole S, Blinkhorn A, et al. Periodontal treatment during pregnancy and birth outcomes: a meta-analysis of randomised trials. International journal of evidence-based healthcare. 2011;9(2):122-47.
23. Dasanayake AP, Gennaro S, Hendricks-Munoz KD, Chhun N. Maternal periodontal disease, pregnancy, and neonatal outcomes. MCN Am J Matern Child Nurs. 2008;33(1):45-9.
24. กันยวัชร์ รัตนสุวรรณ. การดูแลสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเวชศาสตร์ช่องปากและปริทันตวิทยา คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561 [เข้าถึงเมื่อ13 เมษายน 2563 ]. เข้าถึงได้จาก: https://dt.mahidol.ac.th/th/การดูแลสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์/
25. จันทนา อึ้งชูศักดิ์. แนวทางการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในหญิงมีครรภ์. ใน: สุพรรณี ศรีวิริยกุล, เขมณัฏฐ์ เชื้อชัยทัศน์, บรรณาธิการ. คู่มือแนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ANC คุณภาพ WCC คุณภาพ ศพด. คุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2556. หน้า 1-9.
26. จันทนา อึ้งชูศักดิ์, เมธินี คุปพิทยานันท์. การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์. ใน: เมธินี คุปพิทยานันท์, สุพรรณี ศรีวิริยกุล, บรรณาธิการ. การสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ประตูสู่สุขภาพที่ดีในทุกช่วงวัยของชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2555. หน้า 35-8.