กิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์

Main Article Content

วรินทร์ดา อ้อนคำภา
เมธิตา วิวิตรกุล
ปัณณิกา ปราชญ์โกสินทร์
วิทยา กันนุลา

บทคัดย่อ

โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อย  อาการแสดงที่สำคัญคือมีการอักเสบของข้อต่อของรยางค์ต่างๆ หลายข้อแบบสมมาตร ซึ่งทำให้เกิดอาการปวด อักเสบเรื้อรังภายในข้อเกิดการทำลายข้อต่อทำให้มีข้อต่อพิการผิดรูปและทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพตามมา ดังนั้นการให้การรักษาและวิธีปฏิบัติตัวที่เหมาะสมตั้งแต่ระยะแรกจึงมีความสำคัญ  นอกจากการรักษาด้วยยาและการผ่าตัด การรักษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูก็มีส่วนสำคัญ  กิจกรรมบำบัดเป็นหน่วยงานที่ช่วยฟื้นฟูสมรรภาพผู้ป่วยโรครูมาตอยด์ให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันต่างๆได้ โดยนำหลักการปกป้องข้อต่อด้วยการปรับท่าทางและการใช้อุปกรณ์ช่วยเพื่อป้องกันไม่ให้ข้อต่อได้ถูกใช้งานมากเกินไปหรือผิดวิธี  ซึ่งวิธีการดังกล่าวเป็นการถนอมข้อต่อไม่ให้ถูกทำลายก่อนเวลาอันควร อีกทั้งยังสามารถช่วยบรรเทาอาการปวดและการอักเสบของข้อต่อได้เป็นอย่างดี  ทำให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเองและทำกิจวัตรประจำวันเองได้โดยไม่เป็นภาระต่อผู้อื่น

Article Details

บท
บทความทั่วไป

References

1. รัตนภา เผื่อนอุดม. Rheumatoid arthritis. ใน: อัจฉรา กุลวิสุทธิ์, ไพจิตต์ อัศวธนบดี, ทัศนีย์ กิตอำนวยพงษ์. Rheumatology for the Non-Rheumatologist. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: ห้างหุ้นส่วนจำกัด พริ้นติ้ง; 2562. หน้า 45-69
2. สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร. สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย ;2559; เข้าถึงเมื่อ 9 เมษายน 2563 เข้าถึงได้จาก: https://www.thairheumatology.org/wp-content/uploads/2016/08/เอกสารแนะนำข้อมูลโรคเอสแอลอี-สำหรับประชาชน.pdf
3. สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์. สาเหตุและพยาธิกำเนิด (Etiology and pathogenesis). ใน: วรวิทย์ เลาห์เรณู. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: ธนบรรณการพิมพ์; 2544. หน้า 1-12
4. วรวิทย์ เลาห์เรณู. ลักษณะทางคลินิกและอาการแสดงนอกข้อ (Clinical features and extraarticular manifestations). ใน: วรวิทย์ เลาห์เรณู. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: ธนบรรณการพิมพ์; 2544. หน้า 13-30
5. วรวิทย์ เลาห์เรณู. การรักษาทั่วไป (Conventional treatment). ใน: วรวิทย์ เลาห์เรณู. โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: ธนบรรณการพิมพ์; 2544. หน้า 83-105
6. Bobos P, Nazari G, Lalone EA, Ferreira L, Grewal R, MacDermid JC. A Scoping Review of Joint Protection Programs for People with Hand Arthritis. The Open Orthopaedics Journal 2018;12(1):500-513.
7. Niedermann K, Buchi S, Ciurea A, Kubli R, Steurer-Stey C, Villiger PM, De Bie RA. Six and 12 months' effects of individual joint protection education in people with rheumatoid arthritis: a randomized controlled trial. Scandinavian journal of occupational therapy (2012);19(4):360-369.
8. Furst G, Gerber LH, Smith C. Rehabilitation Though Learning: Energy Conservation and Joint Protection[E-book]. 1985[cite 2020 May 1]. Available from : https://books.google.co.th/books?id=ySSBIdteVYQC&pg=PA112&lpg=PA112&dq=avoid+tight+grasp&source=bl&ots=1xjiQOc3z1&sig=ACfU3U3zW9ejXIe0dwiPLRVcIOXIhf_b-w&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwjZ_5iG0ufpAhW0ILcAHeunA2EQ6AEwAnoECAsQAQ#v=onepage&q=avoid%20tight%20grasp&f=false