“คลินิกรักษ์ใจ” การบูรณาการศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการปรึกษาแนวพุทธเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวม

Main Article Content

กชกร โสมชาติ
อัณศยา ธีรภาพพจนกุล
อังคณา อภิชาตวรกิจ
พระครูธรรมธรอานนท์ กนฺตวีโร
ประวิทย์ อัครเสรีนนท์

บทคัดย่อ





“สุขภาวะองค์รวม” หมายถึง องค์ประกอบของชีวิตทั้ง 4 มิติ ได้แก่ สุขภาวะทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณที่รู้ความคิดสติปัญยาในการเชื่อมโยงกัน การมีสุขภาวะองค์รวมที่สมบูรณ์เป็นการนำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของบุคคลในสังคม โดยสภาวะอารมณ์ ล้วนส่งผลต่อด้านอื่น ๆ ของชีวิตที่สอดคล้องเกี่ยวเนื่องกัน ความทุกข์ที่เกิดข้ึนทั้งทางร่างกาย หรือจิตใจล้วนส่งผลต่อความรู้สึก ความคิด ทัศนคติ รวมถึง การดําาเนินชีวิตประจำวัน ศาสตร์การแพทย์แผนไทยมีการกล่าวถึงร่างกายและจิตใจของมนษุย์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกันตั้งแต่การกำเนิดการเปลี่ยนแปลง การเจ็บป่วย และการดับสูญ ดังคำกล่าวว่า“มนุษย์ทุกคนมีจิตเป็นนาย มีกายเป็นบ่าว” คลินิกรักษ์ใจเป็นการเสริมสร้างสุขภาพด้วยหลักธรรมานามัยด้านจิตตานามัยร่วมกับ การให้การปรึกษาแนวพุทธ เป็นการบูรณาการศาสตร์การแพทย์แผนไทยกับแนวคิดทางศาสนา เพื่อสร้างสุขภาวะทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ให้ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเรื้อรังร่วมกับสภาวะที่มีความทุกข์หรือมีปัญหา และ ต้องการพื้นที่ในการรับฟัง เพื่อพิจารณาสาเหตุของปัญหาสู่แนวทางแก้ไขตามความเป็นจริง ซึ่งเป็นการดูแลชีวิตให้ครอบคลุมทั้งปัญหาด้านร่างกายและจิตใจ





Article Details

บท
บทความทั่วไป

References

Iguti AM, Guimarães M, Barros MBA. Health-related quality of life (SF-36) in back pain: a population-based study, Campinas, São Paulo State, Brazil. Cad Saude Publica. 2021;37(2):e00206019.

National institute of mental health (NIMHN). Mental Illness [cited 2022 May 2]. Available from: https://www.nimh.nih.gov/health/statistics/mental-illness#:~:text=Mental%20illnesses%20are%20common%20in,(52.9%20million%20in%202020).

มูลนิธิฟื้นฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดิมฯ และโรงเรียนอายุรเวทธำรง สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ตำราการแพทย์ไทยเดิม (แพทยศาสตร์สงเคราะห์ ฉบับอนุรักษ์) เล่มที่ 1 ฉบับชำระ พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: ศุภวนิชการพิมพ์; 2550.

สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณะสุข. ICD-10-TM บัญชีรหัสกลุ่มโรค อาการ และหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย.2015.

พระปลัดอานนท์ กนฺตวีโร(ช้างแรงการ) พระมหาสุเทพ สุทฺธิญาโณ. พระสงฆ์กับการเยียวยาจิตใจ. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์. 2559;1:46.

โรงเรียนอายุรเวทธำรง สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. การแพทย์แผนไทย ในคณะแพทยศาสตร์ศิริราขพยาบาล. 2, editor. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญ พี.เอส.เพรส; 2552.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม [cited 3 มีนาคม 2565]. Available from: https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=204.

พระครูภาวนาวีรานุสิฐ วิ. กระบวนการให้คำปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา,. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. 2560;3:144.

พระอนันตชัย อภินนฺโท (ขันโพธิ์น้อย). ความทุกข์ในอริยสัจ 4. Buddhist Psychology Journal. 2560;2.

โสรีช์ โพธิแก้ว. การสังเคราะห์หลักอริยสัจ 4 สู่กระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยา/ จิตรักษาเพื่อพัฒนา รักษา และเยียวยาชีวิตจิตใจ: แนวคิด แนวทาง ประสบการณ์ และงานวิจัย. กรุงเทพฯ: หลักสูตรสาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.

ตะวัน วาทกิจ. ความทุกข์ทางใจในบริบทพุทธธรรม. วารสารราชภัฏเชียงใหม่. 2557;1:109.