Eventration of the Diaphragm: Pediatric Surgeon's Perspectives

Main Article Content

Rangsan Puspakom

Abstract

Eventration of the Diaphragm คือ ภาวะที่ Hemidiaphragm มีการยกตัวในตำแหน่งที่สูงขึ้น โดยที่แผ่นกะบังลมนั้นยังมี Anatomical attachment ที่ปกติ และไม่มีช่องทะลุที่ผิดปกติ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองชนิด คือ กลุ่มที่เป็นมาแต่กำเนิด (Congenital form) และ กลุ่มที่พยาธิสภาพเกิดภายหลัง (Acquired form)



แนวทางการรักษา ขึ้นกับความรุนแรงของอาการผู้ป่วย ผู้ป่วยที่มีอาการ Severe respiratory distress จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือมี Failure to thrive ผู้ป่วยเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัดหลังจากอาการผู้ป่วยคงที่แล้ว ในกรณีผู้ป่วยที่มีอาการน้อย การส่งตรวจดูการเคลื่อนไหวของกะบังลมเช่น Fluoroscopy หรือ Ultrasonography สามารถให้การวินิจฉัย Paradoxical movement of diaphragmได้ ซึ่งเป็นหนึ่งในข้อบ่งชี้ของการรักษา
การผ่าตัดยังคงเป็นการรักษาหลักเพื่อทำให้กะบังลมหนาขึ้น (Diaphragmatic plication หรือ Imbrication) เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและทำให้กะบังลมอยู่ในระดับที่เหมาะสม ส่งเสริมการพัฒนาของปอดต่อเนื่อง ปัจจุบันมีเทคนิคและแนวทางการเข้าถึงกะบังลมหลากหลาย เช่น Open thoracotomy, Thoracoscopic surgery, Open laparotomy, Laparoscopic surgery โดยการเลือกแต่ละเทคนิคขึ้นกับอาการของผู้ป่วยและความถนัดของกุมารศัลยแพทย์ พิจารณาใช้ตาข่ายเสริมเพื่อลดอัตราการเป็นซ้ำ เนื่องจากกะบังลมที่ดูว่าปกติอาจจะมีปัญหา Muscularization บางส่วน ทำให้ไม่แข็งแรงเท่ากะบังลมปกติ

Article Details

How to Cite
1.
Puspakom R. Eventration of the Diaphragm: Pediatric Surgeon’s Perspectives . Siriraj Med Bull [Internet]. 2024 Jan. 1 [cited 2024 Apr. 28];17(1):106-8. Available from: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/simedbull/article/view/266435
Section
Editorial

References

สกุลไทย์, สวัสดิ์. สุด แสงวิเชียร. อีเวนเตรชั่นของกะบังลม: รายงานผู้ป่วยพร้อมการให้ข้อสังเกต. สารศิริราช 2493; 2:13.

พัวพันธุ์, ยุพา. อีเว็นเตรชั่นของกะบังลม. ใน: รายงานวิชาการโรงพยาบาลหญิงและเด็ก พ.ศ. 2504 โรงพิมพ์ไทยเขษม พระนคร 2505 หน้า 2-10.

หัพพานนท์, สุปรีดา, มนครี ตู้จินดา และดิเรก พงศ์พิพํฒน์. อีเวนเตรชั่นของกะบังลม. วารสารกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 2517;13:12.

บวรกิตติ, สมชัย, ประเสริฐ กังสดาลย์, สุด แสงวิเชียร, และกษาน จาติกวนิช. Neurogenic muscular aplasia of the diaphragm. Am Rev Respir Dis 1960; 82: 876-80.

บวรกิตติ, สมชัย, ประเสริฐ กังสดาลย์, สุนทร ตัณฑนันท์, วรวิทย์ วงศ์ทองศรี. นิวโรเจนิค อะเพลเสีย ของกล้ามเนื้อกะบังลม. จพสท 2502;42:89.

วีรานุวัตต์, ปราโททย์, จินต์ เจียมประภา. นิวโรเจนิค อะเพลเสียของกล้ามเนื้อกะบังลม. รายงานเบื่องต้น. วชิรเวชสาร 2504;5:28.

Dorland’s Illustrated Medical Dictionary 27th Edition. W.B. Saunders Company 1988, pg. 501.

ประภาสะวัต, ดุษฎี, วิทย์ มีนะกนิษฐ. นิวโรเจนิค มัสคุลาร์ อะเพลเสีย (อีเฟวนเตรขั่น) ของกะบังลม. เขีบงใหม่เวชสาร 2511;7:15.

บวรกิตติ, สมชัย, สุรพล วรไตร, สาโรจน์ วรรณฑฤกษ์. กะบังลมพร่องเนื้อกล้ามแต่กำเนิด. สารศิริราช 2518;27: 1571-8.

Maish MS. The Diaphragm. Surgical Clinics of North America. 2010;90:955-68.

Konstantinidi A, Liakou P, Kopanou Taliaka P, Lampridou M, Kalatzi N, Loukas I, et al. Congenital Diaphragmatic Eventration in the Neonatal Period: Systematic Review of the Literature and Report of a Rare Case Presenting with Gastrointestinal Disorders. Pediatric Reports. 2023;15:442-51.

Schumpelick V, Steinau G, Schlüper I, Prescher A. Surgical Embryology and Anatomy of the Diaphragm with Surgical Applications. Surgical Clinics of North America. 2000;80:213-39.

Clugston RD, Greer JJ. Diaphragm development and congenital diaphragmatic hernia. Seminars in Pediatric Surgery. 2007;16:94-100.

Heiwegen K, van Heijst AFJ, Daniels-Scharbatke H, van Peperstraten MCP, de Blaauw I, Botden SMBI. Congenital diaphragmatic eventration and hernia sac compared to CDH with true defects: a retrospective cohort study. European Journal of Pediatrics. 2020;179:855-63.

Veenma DCM, de Klein A, Tibboel D. Developmental and genetic aspects of congenital diaphragmatic hernia. Pediatric Pulmonology. 2012;47:534-45.

Goldstein JD, Reid LM. Pulmonary hypoplasia resulting from phrenic nerve agenesis and diaphragmatic amyoplasia. The Journal of Pediatrics. 1980;97:282-7.

Spaggiari E, Stirnemann J, Bernard JP, De Saint Blanquat L, Beaudoin S, Ville Y. Prognostic value of a hernia sac in congenital diaphragmatic hernia. Ultrasound in Obstetrics & Gynecology. 2013;41:286-90.

Panda SS, Bajpai M, Srinivas M. Presence of hernia sac in prediction of postoperative outcome in congenital diaphragmatic hernia. Indian Pediatrics. 2013;50:1041-3.

Schwartz MZ, Filler RM. Plication of the diaphragm for symptomatic phrenic nerve paralysis. Journal of Pediatric Surgery. 1978;13:259-63.