ประชาสังคมกับการกำหนดนโยบายสุขภาพระดับประเทศ
คำสำคัญ:
ประชาสังคม, นโยบายสุขภาพ, การกำหนดนโยบายบทคัดย่อ
ประชาสังคมสามารถจะพัฒนาตนเป็นตัวแสดงหลักที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจเชิงนโยบายระดับประเทศได้ ประชาสังคมจำเป็นต้องมีบทบาทอย่างกระตือรือร้นในการสร้างกระแสข่าวสารข้อมูลทั้งสามสาย ซึ่งประกอบด้วยกระแสปัญหา กระแสนโยบาย กระแสทางการเมือง ให้เกิดการไหลบ่ามาบรรจบกันแล้วเปิดหน้าต่างนโยบาย โดยใช้ยุทธศาสตร์สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขาในการระดมพลเมืองให้รวมตัวกันเป็นเครือข่ายชุมชนนโยบายที่เข้มแข็ง และเป็นชุมชนแห่งปัญญาที่มีการไหลเวียนอย่างทั่วถึงของชุดความรู้ เพื่อเรียนรู้จนเข้าใจในสภาพปัญหา ผลกระทบจากปัญหา และทางออกของปัญหาอย่างเท่าเทียม ระหว่างภาครัฐ/การเมือง/ราชการ ภาควิชาการ/วิชาชีพ และภาคประชาสังคม แล้วตัดสินใจกำหนดนโยบายร่วมกัน ดังรูปธรรมที่เป็นโมเดลบทบาทของประชาสังคมไทยในการกำหนดมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ บทเรียนของการขับเคลื่อนของประชาสังคมไทยไม่เพียงเป็นประโยชน์ในการกำหนดนโยบายสุขภาพภายในประเทศเท่านั้น แต่สามารถนำไปปรับใช้ในประเทศอื่นๆ ได้ด้วย
References
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, วิบูลย์ วัฒนนามกุล, ฉันทนา ผดุงทศ, สุธีร์ รัตนะมงคลกุล, มธุรส ศิริสถิตย์กุล และคณะ. (2558). ปฏิรูปสุขภาพ ปฏิรูปประชาธิปไตย: นโยบายสาธารณะ การมีส่วนร่วมกับประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.
จินดารัตน์ โพธิ์นอก. (2559). การนำนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพไปปฏิบัติ กรณีธรรมนูญสุขภาพเฉพาะพื้นที่. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชูชัย ศุภวงศ์ และยุวดี คาดการณ์ไกล (บรรณาธิการ). (2540). ประชาสังคม: ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550. ราชกิจจานุเบกษา. 124(16ก). 19 มีนาคม 2550: 1-18.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2542). ประชาสังคมในมุมมองตะวันตก: อ่านและสอนที่จอห์นส์ ฮอปกินส์. กรุงเทพฯ: สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม.
Archavanitkul, K. et al. (1999). Introduction of Thai civil society: The making of Thai citizens. In Poungsomlee, A. & Archavanitkul, K. (Eds.), Thai civil society: The making of Thai citizens (pp. xxvii-lviii). Bangkok: Amarin Printing & Publishing.
Bambra, C., Fox, D., & Scott-Samuel, A. (2005). Toward a politics of health. Health Promotion International, 20(2): 187-193.
Delue, S. M. (1997). Political thinking, political theory and civil society. Boston: Allyn and Bacon.
Figueras, J., McKee, M., Cain, J., & Lessof, S. (2004). Health systems in transition: Learning from experience. Copenhagen: WHO Regional Office for Europe.
Greer, S. L., Wismar, M., Pastorino, G., & Kosinska, M. (2017). Civil society and health. Copenhagen: European Observatory on Health Systems and Policies, WHO Regional Office for Europe.
Rajan, Dh., Mathurapote, N., Putthasri, W., Posayanonda, T., Pinprateep, P., Courcelles, S. de et al. (2017). The triangle that moves the mountain: Nine years of Thailand’s National Health Assembly (2008-2016). Geneva: World Health Organization.
Siddiqi, S., Masud, T. I., Nishtar, S., Peters, D. H., Sabria, B., Bile, K. M. et al. (2009). Framework for assessing governance of the health system in developing countries: Gateway to good governance. Health Policy, 90(1): 13-25.
Walt, G. (2001). Health policy: An introduction to process and power. London: Zed Books.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสาธารณสุข