บทเรียนจากภาษีสุรา-ยาสูบ สู่ภาษีเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล: มาตรการทางภาษีเพื่อประชาชนสุขภาพดี รัฐมีรายได้เพิ่ม
คำสำคัญ:
ภาษีสุรา, ภาษียาสูบ, ภาษีเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล, มาตรการภาษีสุขภาพบทคัดย่อ
จากการบริโภคเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเพิ่มมากขึ้นในประเทศไทย ทำให้มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของโรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ ในอดีตพบว่าการจัดเก็บภาษีสุรา และภาษียาสูบเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่ทำให้ประชาชนมีอัตราการดื่มสุราและสูบบุหรี่ลดลง ดังนั้นจึงมีความพยายามผลักดันมาตรการทางภาษีเพื่อการมีนโยบายจัดเก็บภาษีเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล เพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่มดังกล่าวของประชาชน บทความนี้มุ่งนำเสนอผลลัพธ์จากมาตรการทางภาษีของสินค้ากลุ่มสุรา และยาสูบ พร้อมทั้งนำเสนอกรณีศึกษาการจัดเก็บภาษีเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลในต่างประเทศ รวมไปถึงวิพากษ์มาตรการทางภาษีดังกล่าว และท้ายที่สุดได้นำเสนอบทสรุปและข้อเสนอแนะเพื่อการนำมาตรการการจัดเก็บภาษีสุขภาพไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
References
2. มณฑา เก่งการพานิช, ศรัณญา เบญจกุล, ธราดล เก่งการพานิช และกรกนม ลัธธนันท์. (2558). ผลกระทบของการขึ้นภาษีสรรพสามิตบุหรี่ปี 2555 ต่อพฤติกรรมการบริโภคยาสูบของผู้บริโภคยาสูบปัจจุบัน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพฯ, 31(3), หน้า 1-12.
3. ณัฐกร อุเทนสุต. (12 มีนาคม 2562). สรรพสามิตเผยร้อนดันน้ำอัดลมขายดี-ขึ้นภาษีความหวานรอบใหม่ 1 ต.ค. เข้าถึงเมื่อ 11 เมษายน 2562 จาก https://www.prachachat.net/economy/news-300388
4. นริศรา เจริญพันธุ์. (2552). ผลกระทบของการขึ้นภาษีบุหรี่ต่ออุปสงค์ยาเส้น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์.
5. นิพนธ์ พัวพงศกร, สิทธิศักดิ์ ลีลหานนท์ และดวงมณี เลาวกุล. (2551). โครงการวิเคราะห์ผลกระทบของการขึ้นภาษีสุรา และพระราชบัญญัติควบคุมการบริโภคสุรา. ศูนย์บริการวิชาการเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
6. พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ.2544. (7 พฤศจิกายน 2544). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 118 ตอนที่ 102 ก, หน้า 6-18.
7. พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2527. (28 ธันวาคม 2527). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 101 ตอนที่ 196, หน้า 1-7.
8. พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.2560. (20 มีนาคม 2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 32 ก, หน้า 1-47.
9. พระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย พ.ศ.2551. (14 มกราคม 2551). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 8 ก, หน้า 45-69.
10. ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ และปวีณา ปั้นกระจ่าง. (2561). รายงานสถิติการบริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.
11. สิทธิพงษ์ บัวผัน. (2553). ผลกระทบของการขึ้นภาษีสรรพสามิตเบียร์ต่อพฤติกรรมการบริโภคเบียร์. (รายงานการวิจัยปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะเศรษฐศาสตร์.
12. สำนักงานกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2559). รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เรื่อง “การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการ ในประเด็นการจัดเก็บภาษีเครื่องดื่มที่มีปริมาณน้ำตาลเกินเกณฑ์มาตรฐานสุขภาพ”. กรุงเทพ: สำนักงานกรรมาธิการ 3.
13. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (พฤษภาคม 2559). ภาษีน้ำอัดลม: ประชาชนสุขภาพดี รัฐมีรายได้เพิ่ม. เข้าถึงเมื่อ 12 เมษายน 2562 จาก http://www.parliament.go.th/library
14. อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว. (2558). สถิติแสดงแนวโน้มการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชากรไทย. เข้าถึงเมื่อ 10 เมษายน 2562 จาก http://cas.or.th/information/statistics
15. Blecher, E. (2015). Taxes on tobacco, alcohol and sugar sweetened beverages: Linkage and lessons learned. Social Science & Medicine, 136-137(2015), pp.175-179.
16. Escobar, M. C., Veerman, J. L., Tollman, S. M., Bertram, M. Y. and Hofman, K. (2013). Evidence. that tax on sugar sweetened beverages reduces the obesity rate: a meta-analysis. BMC Public Health, 13:1072.
17. Smith, A. (1776). An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations. The Modern Library, New York.
18. Thow, M. A. (May 5-6, 2015). Fiscal policy options with potential for improving diets, for the prevention of non-communicable diseases. Speech presentation at WHO technical meeting on fiscal policies on diet in Geneva, Switzerland.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารสาธารณสุข