ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบการ เขตสุขภาพที่ 10

ผู้แต่ง

  • ไกรวัลย์ มัฐผา ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี
  • ฐิติรัตน์ ภาวะสุทธิพงษ์ ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี
  • ศศิธร บุญสุข ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี

คำสำคัญ:

พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ, พนักงาน, สถานประกอบการ

บทคัดย่อ

การส่งเสริมสุขภาพให้พนักงานมีสุขภาพดีเป็นสิ่งสำคัญสำหรับสถานประกอบการ การวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบการ เขตสุขภาพที่ 10 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 340 คน  สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพพนักงาน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ ไควสแคว์  สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า พนักงานร้อยละ 71.8 มีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือระดับต่ำ ร้อยละ 20.9 โดยพฤติกรรมด้านการออกกำลังกายมีคะแนนเฉลี่ยต่ำที่สุด  ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01  ได้แก่ การได้รับข้อมูลข่าวสาร การทำงานเป็นกะหรืองานล่วงเวลา ความเพียงพอของรายได้  มีโรคประจำตัว การรับรู้ภาวะสุขภาพ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ การสนับสนุนทางสังคม โดยสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพได้ร้อยละ 68.4 (p-value < 0.01)  ดังนั้นพยาบาลและผู้ที่ดูแลด้านสุขภาพของสถานประกอบการ สามารถนำผลจากการวิจัยครั้งนี้ ไปใช้ออกแบบและจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพพนักงาน เพื่อให้พนักงานมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพที่ดีซึ่งจะช่วยลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

 

References

Bloom B.S. (1975). Taxonomy of Education. New York: David McKay Company.

Chittreepit, P., Kimsoongnern, N. (2017). Health Promoting Behaviors of Industrial Labours with

Overweight and Obesity in Chiengraknoi Municipality. Master of Nursing Science Thesis

Adult nursing major Graduate School, Rangsit University.

Daniel, W. (2010). Biostatistics : A foundation for analysis in the health sciences (8th ed.). ; New York:

John Wiley & Sons.

Department of Health. (2022). Guidelines for operations to promote health and environmental health

for space Fiscal year 2022. Ministry of Public Health. (in Thai)

Green, L.W., & Kreuter, M.W. (2005). Health Program Planning: An Educational and Ecological

Approach (4 th ed.). New York: McGraw-Hill.

Health Education Division. (2019). Health Literacy Toolkit in Health Care Services. Retrieved 10, 2019

from https://hed.go.th/tool-hlhb/

Kongsamarn, N., Pumglin, P., (2016). Factors Related to Health Promoting Behaviors of industrial

workers Khaoyoi District Petchaburi Province. Journal of the Office of DPC 7 Khon Kaen,

(1): 63-75. (in Thai)

Mankit, S. (2018). Factors Effecting to Worker’s Health Promotion Behavior in Industrial Factories

Muang District Nakhon Ratchasima Province. Journal of Health Research and Development

Nakhon Ratchasima Public Health Provincial Office, 4(1): 47-55. (in Thai)

Ministry of Public Health. (2022). Health Data Center (HDC). Retrieved 10, 2019 from

https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_id=6a1fdf282fd28180eed7d1cfe0155e11

Rakpanusit, T. (2018). Factors Related to Health Promoting Behaviors among Undergraduate

University Students Prince of Songkla University, Pattani Campus. Academic Services Journal, Prince of Songkla University, 29(3): 172-178. (in Thai)

Regional Health Promotion Center 10 Ubonratchathani (2022). Summmary of annual report for health

promotion operations in workplaces for the year 2022. Working age health group, Regional

Health Promotion Center 10 Ubonratchathani.

Sirirungruang, T. (2016). Knowledge, attitude, and health behavior according to the 3อ2ส principles of

employees of Betagro Public Company Limited. Independent Study in the Master of Business

Administration Program Faculty of Business Administration, Krerk University.

Yasharat, R. (2019). Survey of desired health behavior data in the working age population. In the

workplace, Health Zone 12. Retrieved 10, 2019 from http://www.hpc12.anamai.moph.go.th/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-01

How to Cite

มัฐผา ไ., ภาวะสุทธิพงษ์ ฐ. ., & บุญสุข ศ. . (2024). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของพนักงานในสถานประกอบการ เขตสุขภาพที่ 10. วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 7(3), 77–88. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjph/article/view/267305