ประสิทธิผลของโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล

ผู้แต่ง

  • ฐิติพร แสงรัตน์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • นภา ทองกิจ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • ยุทธนา แยบคาย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก คณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

โปรแกรมฝึกอบรม, ความรู้, โรคพิษสุนัขบ้า, อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน, สบช.โมเดล

บทคัดย่อ

กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 52 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 26 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับฉลากแบบไม่ใส่คืน โดยกลุ่มทดลองเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล ส่วนกลุ่มควบคุมดำเนินการตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ Fisher's exact test และ Mann-Whitney U-test ผลการวิจัย พบว่า ก่อนจัดกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 แต่ภายหลังจัดกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรมตามโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล และสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล ที่พัฒนาขึ้นสามารถเปลี่ยนแปลงความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้ จึงควรนำไปใช้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนำประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ตามความเหมาะสมต่อไป

References

Avakul, W. (1997). Training. (2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Bloom, B. S. J. (1965). The role of educational science in curriculum development. International Journal of the Educational Sciences, 1(1), 5-15.

Bloom, B. S. J. (1975). Taxonomy of educational objectives, handbook I: The cognitive domain. New York, NY: David McKay.

Cronbach, L. J. (1984). Essentials of psychology and education. New York, NY: McGraw-Hill.

Chulabhorn Royal Academy. (2022). Her Royal Highness Princess Chulabhorn Krom Phra Srisavangavadhana presided over the second meeting of the “Rabies-Free Animals, Safe People” project. Retrieved 20 January 2024, from https://www.chulabhornchannel.com/media-library/online-news/2022/04.

Department of Livestock Development, Department of Health Service Support, Department of Disease Control & Department of Local Administration. (2023). Memorandum of Understanding on the cooperation to develop the potential of volunteers working on rabies under the Disease-Free Animals, People Safe from Rabies project, in accordance with the wishes of Professor Dr. Her Royal Highness Princess Chulabhorn Krom Phra Srisavangavadhana. Bangkok: Department of Livestock Development.

Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A. & Lang, A. G. (2009). Statistical power analyses using G*Power 3.1: Tests for correlation and regression analyses. Behavior Research Methods, 41(4), 1149-1160. https://doi.org/10.3758/BRM.41.4.1149.

Hennessy, S., Bilker, W. B., Berlin, J. A. & Strom, B. L. (1999). Factors influencing the optimal control-to-case ratio in matched case-control studies. American Journal of Epidemiology, 149(2), 195-197. doi:10.1093/oxfordjournals.aje.a009786.

Kuder, G. F. & Richardson, M. W. (1937). The theory of the estimation of test reliability. Psychometrika, 2(3), 151–160.

Laosetthakij, B., & Pramuan, P. (2023). Development of rabies surveillance and prevention model using community participation in Sisaket Province. KKU Journal for Public Health Research, 16(1), 90-106.

Praboromarajchanok Institute Act B.E. 2562. (5 April 2019). Royal Thai Government Gazette, 136(43A), pp. 40-65.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Tijdschrift voor Onderwijsresearch, 2(2), 49-60.

Saenjai, A., & Sontichai, A. (2022). The effects of using Google Application on knowledge, attitudes, and behaviors regarding rabies prevention. Journal of Nursing and Health Research, 23(1), 134-144.

Tianthavorn, V. (2023). PBRI Model Concept. Nonthaburi: Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health.

Thuybungchim, S., Prompukdee, B., & Sisod, K. (2021). Development of Rabies Prevention and Control Model in School located in area of positive rabies test from animal head; Mueang Phon sub district, Phon district, Khon Kaen province. Journal of the Office of DPC 7 Khon Kaen, 28(3), 93-108.

Valaisathien, J., & Unrat, B. (2022).Development of a model for enhancing health literacy to prevent and control rabies in the model area, Srinarong District, Surin Province. Journal of Office of Disease Prevention and Control 9 Nakhon Ratchasima, 28(1), 27-37.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-01

How to Cite

แสงรัตน์ ฐ. ., ทองกิจ น. ., & แยบคาย ย. (2024). ประสิทธิผลของโปรแกรมฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ภายใต้แนวคิด สบช.โมเดล . วารสารสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 8(1), 22–34. สืบค้น จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tjph/article/view/270423