กิจกรรมยามว่าง กิจกรรมงานบ้าน และกิจกรรมงานอาชีพ ตรวจวัดด้วยแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสําหรับผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว

Main Article Content

Chutima Jalayondeja
Wattana Jalayondeja

บทคัดย่อ

การมีระดับกิจกรรมทางกายที่เหมาะสมสามารถป้องกันโรคเรื้อรังได้ในประชาชนทั่วไปรวมทั้งในผู้พิการ ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหวมากกว่าหกแสนคน การจํากัดการ
เคลื่อนไหวเป็ นสาเหตุโดยตรงต่อการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพและเกิดโรคเรื้อรังรวมถึงการลดลงของคุณภาพชีวิตและเสี่ยงต่อการเสียชีวิต วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือเพื่อสํารวจกิจกรรมทางกายในผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหวด้วยแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสําหรับผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหว โรงเรียนอาชีวะพระมหาไถ่ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรีจํานวน 160 คน พบว่า แบบสอบถามกิจกรรมทางกายมีความน่าเชื่อถือภายใน อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (Cronbach α Coefficient = 0.89) ค่าเฉลี่ยของการเผาผลาญพลังงานของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 22.8±20.27 MET hour/day ผู้พิการทางกายและการเคลื่อนไหวส่วนใหญ่ใช้เวลามากกว่า 3-5 วันต่อ สัปดาห์ทํากิจกรรมอยู่กับที่ เช่น นอน ดูทีวีหรือเล่น คอมพิวเตอร์ และมีการเล่นกีฬาเบาๆ เช่นยืดกล้ามเนื้อ ฝึกยืน ทํากายภาพบําบัดหรือกิจกรรมบําบัด บ่อยกว่าที่จะเล่นกีฬาหนักปานกลางและหนักมาก หรือออกกําลัง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงหรือความทนทานของกล้ามเนื้อ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

1. World Health Organization. Physical activity. c.2013 [update2013 cited 2013 July 2 ] Available from website.

2. Haskell WL, Lee Min-I, Pate RR, Powell KE, Blair SN, Franklin BA et al. Physical activity and public health: updated recommendation for adults from the American College of Sports
Medicine and the American Heart Association. Circulation 2007; 116: 1081-93.

3. สํานักงานคณะกรรมการการฟื ้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กรมประชาสงเคราะห์. พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการของประเทศไทย ปี 2534. ฉบับพิเศษ เล่มที่ 108. หน้า 1-19.

4. สํานักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ. สถิติข้อมูลคนพิการที่มีบัตรประจําตัวคนพิการจําแนกตามภาคประเภทความพิการและเพศ. ปี 2556.

5. Blair SN, Kohl HW, Gordon NF. How much physical activity is good for health? Ann. Rev. Publ. Health. 1992; 13: 99-126.

6. Montoye HJ. Introduction: evaluation of some measurements of physical activity and energy expenditure. Med Sci Sports Exerc. 2000: S439-441.

7. van den Berg-Emons RJ, L’Ortye AA, Buffart LM, Nieuwenhuijsen C, Nooijen CF, Bergen MP, Stam HJ, Bussmann JB. Validation of the Physical Activity Scale for Individuals with
Physical Disabilities. Arch Phys Med Rehabil 2011; 92: 923-8.

8. Washburn RA, Zhu W, McAuley E, FrogleyM, Figoni SF. The Physical Activity Scale for Individuals with Physical Disabilities: development and evaluation. Arch Phys Med
Rehabil 2002; 83: 193-200.

9. Portney LG and Watkins MP. Foundation of clinical research: application to practice. 3rd edition Pearson Education, Inc., USA 2009.

10. Stevens SL, Caputo JL, Fuller DK, Morgan DW. Physical activity and quality of life in adults with spinal cord injury. J Spinal Cord Med. 2008; 31: 373-8.

11. World Health Organization. Global health risk: mortality and burden of disease attributable to selected major risks. Geneva. 2010.

12. Crawford A, Hollingsworth HH, Morgan K, Gray DB. People with mobility impairments: physical activity and quality of participation. Disabil Health J. 2008; 1: 7-13.

13. Martin Ginis KA, Latimer AE, ArbourNicitopoulos KP, Buchholz AC, Bray SR, Craven BC, Hayes KC, Hicks AL, McColl M, Potter PJ, Smith K, Wolfe DL. Leisure time
physical activity in a population-based sample of people with spinal cord injury part I: demographic and injury related correlates. Arch Phys Med Rehabil 2010; 91: 722-8.

14. Martin Ginis KA, Arbour-Nicitopoulos KP, Latimer AE, Buchholz AC, Bray SR, Craven BC, Hayes KC,Hicks AL, McColl M, Potter PJ, Smith K, Wolfe DL. Leisure-time physical
activity in a population-based sample of people with spinal cord injury part II: activity types, intensities, and durations. Arch Phys Med Rehabil 2010; 91: 729-33.

15. Maher CA, Williams MT, Olds T, Lane AE. Physical and sedentary activity in adolescents with cerebral palsy. Dev Med Child Neurol. 2007; 49: 450-57.

16. Sirard JR, Pate RR. Physical activity assessment in children and adolescents. Sports Med. 2001: 31(6); 439-54.