ผลของโปรแกรมการสอนโดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดบั สูงในการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนต่อความรู้ ทักษะปฏิบัติและการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล

Main Article Content

ดวงกมล หน่อแก้ว
มนชยา ก้างยาง
พรรณวดี บูรณารมย์
จงลักษณ์ ทวีแก้ว
นวพล แก่นบุปผา
ไวยพร พรมวงค์

บทคัดย่อ

การตั้งครรภ์ที่ีภาวะแทรกซ้อนถือว่าเป็นความผิดปกติและเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ความรู้และทกั ษะปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีความสำคัญมาก การวิจัยกึ่งทดลองชนิดศึกษาสองกลุ่มวัดก่อนและหลังทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทักษะปฏิบัติ และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นผลของโปรแกรมการสอนโดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดับสูงกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาพยาบาลชั้นปี 4 รุ่น 46 ปีการศึกษา 2561 ใช้การสุ่มอย่างง่ายเพื่อจัดกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 40 คน กลุ่มทดลองใช้โปรแกรมการสอนโดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดับสูงที่ประกอบด้วยการทบทวนความรู้จากกรณีศึกษา การฝึกทักษะปฏิบัติการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะมดลูกแตก ภาวะเครียดของทารกในครรภ์ ภาวะสายสะดือย้อยในสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดับสูงกับหุ่นจำลองสมรรถนะสูง และการสะท้อนคิดหลังการเรียนรู้ ส่วนกลุ่มควบคุมแนะนำ การศึกษาด้วยตนเอง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบทดสอบความรู้แบบประเมินทักษะปฏิบัติแบบประเมินการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และแบบประเมินความพึงพอใจ เครื่องมือมีค่าดัชนีความตรง .85-1.00 ผลวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (t=1.663, p>.05) ทักษะปฏิบัติของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Z=-4.911, p<.01) การรับรู้สมรรถนะแห่งตนของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t= 2.746, p<.01) กลุ่มทดลองพึงพอใจโปรแกรมการสอนโดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดับสูงในระดับมาก ( =4.48, SD±.43) สถาบัน การศึกษาพยาบาลควรนำโปรแกรมการสอนนี้ไปใช้จัดการเรียนการสอนเพ่อื เสริมสร้างความมั่นใจในการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ที่มีภาวะแทรกซ้อนให้กับนักศึกษาพยาบาล

Article Details

How to Cite
1.
หน่อแก้ว ด, ก้างยาง ม, บูรณารมย์ พ, ทวีแก้ว จ, แก่นบุปผา น, พรมวงค์ ไ. ผลของโปรแกรมการสอนโดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงระดบั สูงในการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนต่อความรู้ ทักษะปฏิบัติและการรับรู้สมรรถนะแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล. NJPH (วารสาร พ.ส.) [อินเทอร์เน็ต]. 20 ธันวาคม 2019 [อ้างถึง 15 เมษายน 2025];29(3):53-65. available at: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/tnaph/article/view/230771
บท
บทความวิจัย

References

1. Brown MA, Magee LA, Kennyd LC, Karumanchie SA, McCarthyf FP, Saitog S, et al. The hypertensive disorders of pregnancy: ISSHP classification, diagnosis & management recommendations for international practice. Pregnancy Hypertension 2018;13:291–310.

2. Takenaka S, Matsuoka R, Maruyama D, Kawashima A, Koide K, Sekizawa A. Magnesium sulfate has an antihypertensive effect on severe pregnancy induced hypertension. Hypertension Research in Pregnancy 2016;4(1):11-5.

3. Vernekar M, Rajib R. Unscarred uterine rupture: a retrospective analysis. The Journal of Obstetrics and Gynecology of India 2016;66(S1):S51-4.

4. Kohli U, Singh S, Dey M, Bal HK, Seth A. Antenatal risk factors in emergency caesarean sections done for fetal distress. International Journal of Reproduction, Contraception, Obstetrics and Gynecology 2017;6(6):2421-6.

5. Sananpanichkul P. Update understanding and concepts of toxemia pregnancy. Journal of Prapokklao Hospital Clinic Medical Education Center 2015;32(4):364-76. (in Thai)

6. Ntlokonkulu ZB, Rula NM, Goon DT. Medium-fidelity simulation in Clinical readiness: a phenomenological study of student midwives concerning teamwork. BMC Nursing 2018;17(31):1-8.

7. Bandura A. Self-efficacy: The exercise of control. New York: W.H. Freeman and Company;1997. 8. Kolb DA. Kolb learning cycle. [Internet]. 1999.[cited 2019 July 14]. Available from: http://www.ldu.leeds.ac.uk/ldu/sddu_multimedia/images/kolb_cycle.gif

9. Jeffries PR, Rogers KJ. Theoretical framework for simulation design. In Jeffries PR.(Eds.), Simulation in nursing education: from conceptualization to evaluation, 1st ed. New York NY: National League for Nursing : 2007.

10. Faul F, Erdfelder E, Buchner A, Lang A. Statistical power analysis using G* Power 3.1: test for correlation and regression analysis. Behavior Research 2009;41(4):1149–60.

11. Kaewkanvan J, singhasivanon P. Textbook of Clinical Research: Chapter 4 Sample size in Clinical Research. [Internet]. 2011.[cited 2019 July 14]. Available from: http://www.tm.mahidol.ac.th..earh/107-44. (in Thai).

12. Pasunon P. Assessment of confidence between assessors using Kappa statistics. The Journal of Faculty of Applied Arts 2015;8(1):2-20. (in Thai)

13. Sanpasithiprasong College of Nursing. Bachelor degree Nursing Curriculum (Course Update 2012) Documents not published. (in Thai)

14. Awidia IT, Paynterb M. The impact of a flipped classroom approach on Student learning experience. Journal of Computers & Education 2019;128:269–83.

15. Li KC, Lee LY-K, Wong S-L, Yau I.S-Y, Wong B.T-M. The effects of Mobile learning for nursing students:an integrative evaluation of learning process, learning motivation, and study performance. International Journal of Mobile Learning and Organization 2019;13(1):1-3.doi: 10.1504/IJMLO.2019.096471

16. Hall SW. High-Fidelity Simulation for Senior Maternity Nursing Students. Nursing Education Perspectives 2016;36(2):124-6.

17. Franklin AE, Gubrud-Howe P, Sideras S, Lee CS. Effectiveness of Simulation Preparation on Novice Nurses’ Competence and Self-Efficacy in a Multiple-Patient Simulation. Nursing Education Perspectives 2015;36(5):324-325.doi:10.5480/14-1546

18. Young KM, Soohyun P, Jongsoon W. Influence of Nursing Students’ Anxiety during Simulation Training on Personal Satisfaction of Simulation, Self-efficacy, Clinical Competence. Journal of Korean Academy of Fundamentals of Nursing 2016;23(4):411-418. doi http://dx.doi.org/10.7739/jkafn.2016.23.4.411