การศึกษาประสิทธิผลการอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน สำหรับประชาชนทั่วไปในจังหวัดหนองคาย
คำสำคัญ:
การอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน, การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลบทคัดย่อ
ภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยาบาล (Out-of-Hospital Cardiac Arrests: OHCA) มีความเสี่ยงสูงต่อการเสียชีวิต การเริ่มช่วยฟื้นคืนชีพเร็วเป็นการเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของผู้ป่วย การศึกษาวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานสำหรับประชาชนทั่วไปในจังหวัดหนองคายจำนวน 6 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน เลือกตัวอย่างแบบการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับฉลากจนครบจำนวน การอบรมฯ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน 1) การชมวีดีทัศน์การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน 2) รับฟังบรรยายและสาธิตการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน 3) การฝึกปฏิบัติแจ้งเหตุ 1669 และการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน 4) ทดสอบการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบทดสอบความรู้ ทัศนคติและทักษะ วิเคราะห์ข้อมูล เชิงพรรณนาและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการทดลองในกลุ่ม ระหว่างกลุ่มโดยการเปรียบเทียบค่าที (t-test)
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 59.4 มีอายุ ช่วง 20-39 ปี ร้อยละ 37.8 เคยมี
ประสบการณ์แจ้งเหตุ 1669 ดูวีดีทัศน์การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน พบเห็นการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและเรียนทฤษฎีการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ร้อยละ 30.63, 11.1, 3.9 และ 26.7 ตามลำดับ ภายหลังเข้ารับการอบรมภาพรวมความรู้และทัศนคติทั้ง 6 กลุ่ม มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนเข้าโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ < 0.001 ส่วนด้านทักษะหลังเข้าอบรมทุกกลุ่มมีประสิทธิผลในระดับมากยกเว้นกลุ่ม อสม.มีระดับปานกลาง ภาพรวม ด้านโครงการฯ มีประสิทธิผลในระดับมาก และมีอย่างน้อย 2 กลุ่มที่มีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้ ด้านทัศนคติ ด้านทักษะและด้านโครงการฯ เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .003., .044, .016 และ.013 ดังนั้นควรนำโปรแกรมการฝึกอบรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในกลุ่มประชาชนทั่วไปให้ครอบคลุมตั้งแต่วัยเรียนจนถึงวัยผู้ใหญ่
References
บริการในหน่วยงานผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร [อินเตอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2561].เข้าถึงได้จากhttp://www.chainathospital.org/chainatweb/assets/ research/research1.pdf
2. SCA Foundation. AHA Releases 2015 Heart and Stroke Statistics [Internet]. 2014 [cited 2018 August 3].Available from: http://www. sca-aware.org/sca-news/aha-releases-2015-
heart-and-stroke-statistics.
3. กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักโรคไม่ติดต่อ. รายงานประจำปี 2558 สำนักโรคไม่ติดต่อ กรม
ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขกรม. กรุงเทพฯ:สำ นักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2559.
4. Pascal Meier, Paul Baker, Daniel Jost,et al. Chest compressions before defibrillation
for out of hospital cardiac arrest: A meta-analysisof randomized controlled clinical trials. BMC Med [Internet]. 2010 [cited 2018 January 1]; 8:52. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2942789/.
5. Holmberg M1, Holmberg S, Herlitz J. The problem of out-of-hospital cardiac-arrest
prevalence of sudden death in Europe today. Am J Cardiol [Internet].1998 [cited 2019
January11]; 83(5B):88D90D.Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10089847.
6. ธวัช ชาญชญานนท์, ปิยวรรณ สุวรรณวงศ์, ศศิกานต์ นิมมานรัชต์. ผลของการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพและปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์.สงขลานครินทร์เวชสาร[อินเตอร์เน็ต]. 2012 [เข้าถึงเมื่อ 12 มกราคม 2562] ;29:1;2554. เข้าถึงได้จาก:https://medinfo.psu.ac.
th/smj2/29_1/05_thavat (53029).pdf
7. ไฮไลท์ของแนวทางการนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพ (CPR) และการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือด
หัวใจในภาวะฉุกเฉิน (ECC) ของAmerican Heart Association (AHA) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2558. [Internet]. 2015 [cited 2019 January12]. Available from: https://eccguidelines.heart.org /wpcontent/uploads/2015/10/2015-AHAGuidelines-Highlights-Thai.pdf.
8. Amnuaypattanapon K, UdomsubpayakulU. Evaluation of related factors and outcome in cardiac arrest resuscitation at Thammasat Emergency Department. J Med Assoc Thai 2010; 93 (Suppl.7):S26-34.
9. SuraseranivongseS, ChawaruechaiT, Saengsung P, et al. Outcome of cardio pulmonary resuscitation in 2300-bed hospital in a developing country. Resuscitation 2006; 71:188-93.
10. Christoph HR Wiese*, HenrykWilke, Jan Bahr and Bernhard M Graf. Practical examination of bystanders performing Basic Life Support in Germany: A prospective manikin study.BMC Emerg Med [Internet].2008 [cited 2019 January1]; 8: 14. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2600625/
11. Japanese Circulation Society Resuscitation Science Study Group, author. Nagao K,
Nonogi H, Yonemoto N, Furuya S, Tani S, Matumoto N, et al. Chest-compression-only bystander cardiopulmonary resuscitation in the 30:2 compression-to-ventilation ratio era- Nationwide observational study. Circulation Journal [Internet]. 2013 [cited 2019 March 1];77:2742–50. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/23924887
12. วีดีทัศน์การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน. [อินเตอร์เน็ต] .2560 [เข้าถึง
เมื่อ วันที่ 11 ธันวาคม 2561].เข้าถึงได้จาก: https://www.youtube.com/watch?v=-BrFVo1tdw0
13. แผ่นพับประชาสัมพันธ์การช่วยฟื้นชีพขั้นพื้นฐานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (การช่วยชีวิตฉุกเฉิน). [อินเตอร์เน็ต] .2560 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม2561]. เข้าถึงได้จาก : https://www.niems.go.th/1/Info- Graphics?group=1&data_per_page=10&page=3
14. เพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง, ชจัคเณค์ แพรขาว.ผลของโปรแกรมสอนการช่วยเหลือขั้นพื้นฐานต่อความรู้และทักษะของ นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียน มัธยมประจำจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Effect of Basic First Aid to Sudden Cardiac Arrest Program on Knowledge and Skill of High-school Students in Provincial Secondary School..เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ การเสนอผลงานวิจัย บัณฑิตศึกษา ระดับชาติ และนานาชาติ 2560 วันที่ 10 มีนาคม 2560 ณ อาคารพจน์ สารสิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น [อินเตอร์เนต].2560 [เข้าถึง เมื่อ 11 ธันวาคม 2561]; 2017: 763-774. เข้าถึงได้จาก :https://gsbooks.gs.kku.ac.th/60/nigrc2017/pdf/ad_pth.pdf.
15. นันทวรรณ ทิพยเนตร และคณะ. การพัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขนักเรียนมัธยม (อสนม.) ในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดมหาสารคาม.การประชุมวิชาการระดับชาติ ฉลองครบรอบทศวรรษ สำนักวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปี 2559. เชียงราย: สำนักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2559:30-8.
16. สุพรรณี ธรากุล, เฉลิมศรี นันทวรรณ, สุพิชญาหวังปิติ. การประเมินผลการกู้ชีพในชุมชน ว.วิชาการสารสุข 2552;18(4):597- 605.
17. สุภามาศ ผาติประจักษ์. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ การรับรู้สมรรถนะของตนเองในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและความสามารถในการกดหน้าอกในนักศึกษาพยาบาลระดับปริญญาตรี.Songklanagarind Journal of Nursing 2558; 35(1):119-134.
18. Simon- Richard Finke. Gender aspects in cardiopulmonary resuscitation by school
children: A systematic review. Resuscitation [Internet].2018[cited 2019 January 3]; 125:70-78.
Available from: https://www.resuscitationjournal.com/article/S0300-9572(18)30026-1/pdf.
19. Connolly M, Toner P, Connolly D,McCluskey .The 'ABC for life' programme -
teaching basic life support in schools. Resuscitation [Internet]. 2007 [cited 2019 March 2]; 72(2):270-9. Available from: https://www. ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17134814.
20. ทฤษฎีแนวคิดบลูม.[อินเตอร์เน็ต].2553 [เข้าถึงเมื่อ 11 ธันวาคม 2561]. เข้าถึงได้จาก: http://
pornpen-n.blogspot.com/2010/11/ blog-post. html.
21. Wissenberg M, Lippert FK, Folke F,Weeke P, Hansen CM, Christensen EF, et al.
Association of National Initiatives to improve cardiac arrest management with rates of
Bystander intervention and patient survival after out-of-hospital cardiac arrest. JAMA[Internet]. 2013 [cited 2019 March22];310(13):1377-84. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/24084923.
22. Nielsen AM, Isbye DL, Lippert FK, Rasmussen LS. Can mass education and a
television campaign change the attitudes towards cardiopulmonary resuscitation in a rural
community?. Scandinavian Journal of Trauma, Resuscitation and Emergency Medicine [Internet].2013 [cited 2019 March 15];21:39. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/
pmc/articles/PMC3666962/
22. ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ [อินเตอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 10 ธันวาคม 2561].เข้าถึงได้จาก : https : //uthailand.wordpress.com/2011/08/17/gagne/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
การละเมิดลิขสิทธิ์ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้ส่งบทความโดยตรง
ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของผู้นิพนธ์ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหา ทัศนะ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความในวารสารไปเผยแพร่ทางการค้าก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร