ผลของรูปแบบการวางแผนจำหน่ายแบบผสมผสานต่อความรู้และทักษะมารดาของทารกคลอดก่อนกำหนด

ผู้แต่ง

  • กิติยาพร สังฆศรีสมบัติ หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด โรงพยาบาลอุดรธานี
  • ชรินทร์พร มะชะรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

คำสำคัญ:

รูปแบบการวางแผนจำหน่ายแบบผสมผสาน, ความรู้ทักษะมารดาของทารกคลอดก่อนกำหนด

บทคัดย่อ

messageImage_1640957993268.jpg

References

1. สำนักนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2561 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 15 สิงหาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/statis tic%2061.pdf
2. โรงพยาบาลอุดรธานี. รายงานประจำปี 2562: ข้อมูลผู้ป่วยทารกแรกเกิด โรงพยาบาลอุดรธานี. อุดรธานี: โรงพยาบาล; 2562.
3. พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา. การพยาบาลเด็ก เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข; 2560.
4. ประชา นันท์นฤมิต. การประยุกต์ความรู้ทางสรีรวิทยาในการดูแลทารกแรกเกิด. กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง; 2560.
5. วนิสา หะยีเซะ,นุจรี ไชยมงคล, อัจฉราวดีศรียะศักดิ์, มยุรี ยีปาโล๊ะ. การพัฒนาแอปพลิเคชันบนแอนดรอยด์: ผลของการให้ความรู้ผ่านแอปพลิเคชันในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลตามวิถีมุสลิม. ว.มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2564; 13(1): 39-55.
6. เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์, วีณา จีระแพทย์. การประเมินภาวะสุขภาพทารกแรกเกิด. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์; 2554.
7. นภสร เฮ้ามาชัย. การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย หอผู้ป่วยทารกแรกเกิดกึ่งวิกฤต 2 ค โรงพยาบาลศรีนครินทร์ [วิทยานิพนธ์]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2557.
8. สุวารี โพธิ์ศรี. ผลของโปรแกรมการเตรียมจำหน่ายทารกคลอดก่อนกำหนดโดยใช้ทฤษฎีความสำเร็จตามเป้าหมายต่อพฤติกรรมการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดของมารดาที่บ้าน [วิทยานิพนธ์]. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัย ขอนแก่น; 2559.
9. Hockenberry, M. J., Wilson, D., Winkelstein, M. L. Wong’s Essentials of Pediatric Nursing. 8th ed. St. Louis (MO): Mosby; 2007.
10. วริสรา ศักดาจิวะเจริญ. ผลของโปรแกรมการวางแผนการจำหน่ายต่อพฤติกรรมการดูแลทารกคลอดก่อนกำหนดของมารดา [วิทยานิพนธ์.] กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.
11. สุมนกาญจน์ ลาภกิตติเจริญชัย. ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาผ่านไลน์แอพพลิเคชั่นที่มีต่อความเครียดและความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองของผู้ดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง. ว.กรมการแพทย์2563; 45(3): 42-50.
12. ประกาย วิโรจน์กุล. การวิจัยทางการพยาบาล: แนวคิด หลักการ และวิธีปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สร้างสื่อ; 2552.
13. Rosner, Bernard. Fundamental of Biostatistics. 5thed. United States: Brooks/Cole; 2000. p.463.
14. สังวาลย์ พิพิธพร. ผลของโปรแกรมการเสริมพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองโรงพยาบาลอุดรธานี 2 อำเภอเมืองจังหวัดอุดรธานี. ว.การแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี 2563; 28(1): 30-42.
15. Bloom, Benjamin. Taxonomy of education obectives the classification of educational Goals handbookI:Cognative domain [Internet] New York: David Mckay; 1970 [เข้าถึงเมื่อ 15 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://www.uky.edu/~rsand1/china2018/texts/Bloom%20et%20al%20Taxono-my%20of%20Educational%20Objectives.pdf
16. กันทิมา ขาวเหลือง, ปรีย์กมล รัชนกุล, เรณู พุกบุญมี. การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายทารกคลอดก่อนกำหนดที่ส่งเสริมการดูแลอย่างต่อเนื่องของโรงพยาบาลปทุมธานี. ว.วิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 2555; 6(1): 27-39.
17. นุชจรีพร ทองวรณ์. ผลของการวางแผนการจำหน่ายโดยใช้รูปแบบ D-M-E-T-H-O-D ต่อระยะเวลานอนโรงพยาบาลและการกลับมารักษาซ้ำของผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบอายุ 0-5 ปี ตึกผู้ป่วยใน โรงพยาบาลพนาจังหวัดอำนาจเจริญ [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 15 มกราคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.amno. moph.go.th/amno_new/files/012-61.pdf
18. วารินท์พร ฟันเพื่องฟู. การจัดการเรียนรู้Active Learning ให้สำเร็จ. ว.วไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ 2562; 9(1): 135–145.
19. ผนึกแก้ว คลังคา, วิลาวัณย์ จันโทริ, อำภา ทาเวียง. การพัฒนารูปแบบการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวหรือผู้ดูแล. ว.มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 2562; 32(2): 40-49.
20. ศิริมา สาระนันท์. ผลของโปรแกรมเสริมพลังอำนาจผู้ดูแลต่อความรู้ความสามารถในการดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรังโรงพยาบาลอุดรธานี. ว.การแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี 2563; 28(3): 374-383.
21.ดวงใจ สนิท. ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ. ว.เกื้อการุณย์ 2558; 22(1): 60–81.
22. เสาวลักษณ์ ทาแจ้ง, กาญจนา ปัญญาธร, นิตยากร ลุนพรหม, อุมาพร เคนศิลา, ผาณิต คำหารพล, กนธิชา จีนกลั่น, และคนอื่นๆ. ผลของการใช้สื่อแอพพลิเคชั่นเรื่องการป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่อคะแนนความรู้ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2563; 8(2): 89–104.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30