การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สำหรับนักศึกษาพยาบาล

ผู้แต่ง

  • ปิติณัช ราชภักดี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • วิภาวรรณ สีหาคม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
  • วิจิตรา วงศ์อนุสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • พจมาน ชำนาญกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

คำสำคัญ:

การจัดการศึกษา, การพัฒนาที่ยั่งยืน, การศึกษาพยาบาล, นักศึกษาพยาบาลศาสตร์

บทคัดย่อ

การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นแนวคิดที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ เพื่อให้สามารถนำไปสู่การพัฒนาชีวิตและสังคมทุกระดับให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและไปสู่อนาคต โดยต้องมีความสมดุลทั้ง 3 ด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับสากล การจัดการศึกษาทางการพยาบาลศาสตร์ จึงต้องปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ในสถานการณ์ที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้สอนจำเป็นต้องช่วยให้ผู้เรียนเกิดทักษะในศตวรรษที่ 21 สมรรถนะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาพยาบาล และผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบนำตนเอง การเรียนรู้ตลอดชีวิตและเกิดความยั่งยืน บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอแนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ โดยมีสาระเกี่ยวกับ ความหมาย แนวคิดพื้นฐาน และแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาสมรรถนะผู้สอนและผู้เรียนในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยังยืนสำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ทั้งนี้เพื่อเป็นข้อเสนอแนะในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรสาขาพยาบาลศาสตร์ ในระดับปริญญาตรีต่อไป

References

1. วัลลภ รองพล. การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวง ศึกษาธิการ. ว.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2553; 6: 97-125.
2. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. [อินเทอร์เน็ต]. 2560 [เข้าถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://backof-fice.onec.go.th/uploads/Book/1581-file.pdf.2560
3. เกษร เกษมชื่นยศ. การพัฒนาของไทยตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. ว.จันทรเกษมสาร 2563; 26(1):16-30.
4. เสถียร ฉันท, อรุณี อินเทพ, จันทร์จิรา ขันประเสริฐ, กันยพัชร์ ไตรทรัพย์. โครงการ “การสำรวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทประเทศไทย และทางเลือกมาตรการทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมาย" เป้าหมายที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย; 2560: 3-4.
5. บานชื่น นักการเรียน. การพัฒนาที่ยั่งยืน Sustainable Development. ว.สิรินธรปริทรรศน์ 2559; 17(2): 64-69.
6. วิจารณ์ พานิช. ครูเพื่อศิษย์ สร้างห้องเรียนกลับทาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอสอาร์พริ้นติ้งแมส โปรดักส์; 2556.
7. Singh, M., Ramya, K. R. Outcome based education. International Journal Nursing Education 2011; 3(2): 87-91.
8. สุรีย์ จินเรื่อง, วิภาศิริ นราพงษ์, ปวีณภัทร นิธิตันติวัฒน์. การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์สาขาพยาบาลศาสตร์ ว.วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี 2561;29(2): 207-216.
9. Kim, H. S. Outcomes-based curriculum development and student evaluation in nursing education. Journal of Korean Academy Nursing 2012; 42(7): 917-927.
10. มหาวิทยาลัยราชธานีวิทยาเขตอุดรธานี. คณะพยาบาลศาสตร์. หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.
อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชธานีวิทยาเขตอุดรธานี; 2561.
11. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. [อินเทอร์เน็ต]. 2552 [เข้าถึงเมื่อ 30 สิงหาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www. mua.go.th /users/tqf-hed/news/FilesNews/FilesNews3/News328072 552.pdf
12. ราชกิจจานุเบกษา: ประกาศสภาการพยาบาล [อินเทอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 30 สิงหาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha .soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/144/24.PDF
13. พิมพ์พรรณ เทพสุเมธานนท์. หลักการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง; 2544.
14. พระครูนิพัทธ์กัลยาณวัฒน์ (คะนอง กลฺยาณธมฺโม), พระศรโสภณ ปภสฺสโร. พัฒนาการของการศึกษาที่ยั่งยืนตามแนวพุทธศาสตร์. บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ 2562;7 (2): 297-315.
15. วราภรณ์ เชื้ออินทร์. แนวคิดการจัดการการศึกษาหลังปริญญาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. ศรีนครินทร์เวชสาร 2555; 27(1): 77-93.
16. พวงรัตน์ บุญรัตน์. ทิศทางการจัดการศึกษาทางการพยาบาล. ว.คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2540; 5(3): 57-60.
17. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย. คิด มอง คาดการณ์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย [อินเทอร์เน็ต]. 2550 [เข้าถึงเมื่อ 20 สิงหาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.accu.or.jp/esd/mt-static/coe/tei./คู่มือ%20ESD%20เล่ม%201%20%28ปรับปรุง%29.pdf. 2562
18. พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: พื้นฐานการศึกษาด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ไทยสัมพันธ์; 2553.
19. วิภาดา คุณาวิกติกุล. การเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ ในยุคศตวรรษที่ 21. พยาบาลสาร 2558; 42(2): 152-156.
20. สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์. ทิศทางการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21. Viridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ 2560; 10(2): 2843-2854.
21. J. O’Flaherty, M. Liddy. The impact of development education and education for sustainable development interventions: a synthesis of the research. Environmental Education Research 2018; 24(7): 1031-1049.
22. UNESCO. Sourcebook United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization Education for Sustainable Development the United Nations Educational,Scientific and Cultural Organization7, place de Fontenoy, 75352 Paris 07 SP: France. [Internet] 2012. [cited 2019 May 23]. Available from: https://sustainabledevelopment. un.org/content/documents/926unesco9.pdf
23. ทินกร บัวชู. การศึกษาความคิดเห็นของรูปแบบการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีในศตวรรษที่ 21. ว.พยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2561; 30(3): 26-37.
24. Goodman, B. A framework for nurse education that is ‘fit for the future’. Nurse Education Today [Internet]. 2013 [cited 2020 Apr 23]. Available from: http://dx.doi.org.libproxy. cbu.ca:204 8/10.1016/j.nedt.2013.02.010
25. สตรีรัตน์ ธาดากานต์, พรศิริ พฤกษชาติ. การประเมินเพื่อติดตามและพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของนักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ที่พัฒนาโดยใช้เกณฑ์ประกันคุณภาพระดับหลักสูตรของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน. ว.พยาบาลทหารบก 2563; 21(2): 358-367.
26. นภาพร พุฒิวณิชย์, สุรศักดิ์ พุฒิวณิชย์, อริสา จิตต์วิบูลย์. แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ PBL สาหรับนักศึกษาพยาบาล. ว.เครือข่ายและวิทยาลัยการสาธารณสุขภาคใต้ 2563; 37(2): 324-335.
27. สิริวัฒน์ อายุวัฒน์. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-Based Learning): ความท้าทายของการศึกษาพยาบาลในการพัฒนาการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. ว.พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2560; 27(2): 15-30.
28. Post J, L., Deal B, H. M. Implementation of a flipped classroom: Nursing students’ perspectives. J Nurs Educ Pract 2015; 5(6): 25-30.
29. สมจิตต์ สินธุชัย, กันยารัตน์ อุบลวรรณ, สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์. ผลของการจัดการเรียนรู้โดย สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิ ฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2560; 3(1): 113-127.
30. UN. Goal 4: Quality Education 17 goals to transform the world for persons with disabilities [Internet]. 2021 [cited 2021 Jun 14]. Available from: https://www.un.org/development/desa/disa bilities/envision2030.html
31. จิรัฏฐ์ แจ่มสว่าง. U-Learning [อินเทอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 2 มีนาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ku.ac.th/icted2008/download/u-Learning_jirat.pdf
32. ลัดดา ศิลาน้อย, อังคณา ตุงคะสมิต. เอกสารประกอบการอบรมเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยโครงงาน. ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น; 2553.
33. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีอีสาน. คู่มือการใช้งานระบบ RMUTI LMS สำหรับผู้สอน โดยแผนกงานอีเลิร์นนิ่งและเทคโนโลยีการศึกษา [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 8 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://lms.rmuti.ac.th/LMS-UserGuide.pdf
34. Thai MOOC. การศึกษาแบบเปิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 8 เมษายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://lms.thaimooc.org/
35. Eckleberry-Hunt, J., Tucciarone, J. The challenges and opportunities of teaching “generation Y”. Journal of Graduate Medical Education 2011; 3(4): 458-461.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30