กลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง ของผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10* THE STRETEGY TO DEVELOP REGISTERED NURSES FOR MANAGING AGGRESSIVE AND VIOLENT BEHAVIORS OF PSYCHIATRIC PATIENTS IN HOSPITALS, THE AREA HEALTH 10

ผู้แต่ง

  • อัครเดช กลิ่นพิบูลย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
  • ชมพูนุท โมราชาติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
  • กชพงศ์ สารการ อาจารย์ ดร.

คำสำคัญ:

management, aggressive behavior, violent behavior, development strategy, การจัดการ พฤติกรรมก้าวร้าว พฤติกรรม รุนแรง กลยุทธ์การพัฒนา

บทคัดย่อ

Abstract


Objectives: To develop and evaluate the strategy for the registered nurses in managing aggressive and violent behaviors of psychiatric patients in hospitals, the Area health 10.
Methods: The research and development was conducted 3 phase. 1) Developed the strategy data were collected through focus group discussions of 120 target populations. The research tools were in6aspects of focus-group discussions records. 2) Evaluated the developed strategy conducted by 9 experts and 3) by experimentation of the strategy with 30 sampled subjects.
Results: 1) The developed strategy for developing the registered nurses aimed to achieve 5 aspects;(1) being appropriate in particular contexts; (2) the registered nurses gaining capacity in aggressive and violent behavior management of psychiatric patients; (3) the registered nurses being satisfied with the strategy; (4) changes in the registered nurses in 4 aspects; (4.1) knowledge increase (4.2) better attitude (4.3) more confident (4.4) more skillful and (5) capacity being developed as required in the strategy. 2) The suitability of the developed strategy showed its acceptable level  whereas the possibility was found to be at a higher level. 3) After developing the nurses through the developed strategy, their mean scores of knowledge, attitude, and confidence were found to be different at .05 level of significance that were higher than before.

บทคัดย่อ


วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาและประเมินกลยุทธ์การพัฒนาพยาบาลวิชาชีพ ในการจัดการพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วยจิตเวช ในโรงพยาบาลเขตสุขภาพที่ 10
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอน 1) การพัฒนากลยุทธ์โดยการสนทนา กลุ่มในกลุ่มเป้าหมาย 120 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม 6 ประเด็น 2) ประเมินกลยุทธ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิและ 3) ทดลองใช้กลยุทธ์กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน                                                                                           

ผลการศึกษา: 1) กลยุทธ์ฯ มีเป้าประสงค์ 5 ประการ คือ (1) มีความเหมาะสมกับบริบท (2) พยาบาลวิชาชีพมีสมรรถนะในการจัดการกับพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (3) พยาบาลวิชาชีพพึงพอใจในกลยุทธ์ฯ (4) พยาบาลวิชาชีพมีการเปลี่ยนแปลงใน 4 ด้าน ได้แก่ (4.1) ความรู้เพิ่มขึ้น(4.2) ทัศนคติที่ดีขึ้น (4.3) ความเชื่อมั่นมากขึ้น(4.4) มีทักษะ และ (5) มีการพัฒนาสมรรถนะตามกลยุทธ์ 2) ผลการประเมินกลยุทธ์ฯ ด้านความเหมาะสม การยอมรับได้และความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก 3) ผลการทดลองใช้กลยุทธ์ฯ พบว่าคะแนนความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อมั่นหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การฝึกทักษะผ่านตามเกณฑ์ร้อยละ 100

Author Biographies

อัครเดช กลิ่นพิบูลย์, พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบลราชธานี

ชมพูนุท โมราชาติ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

กชพงศ์ สารการ, อาจารย์ ดร.

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-04-30