บทบาทของพยาบาลจิตเวชในการส่งเสริมสุขภาพจิต และการป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต ROLES OF PSYCHIATRIC NURSES FOR MENTAL HEALTH PROMOTION AND MENTAL ILLNESS PREVENTION

Main Article Content

ทศา ชัยวรรณวรรต

บทคัดย่อ

 Abstract
           The purpose of this article is to summarize and present knowledge in relation to mental health promotion guideline for psychiatric nurses who are responsible for promoting mental health and preventing mental illness in normal healthy people, person at risk of developing mental health problems and psychiatric patients. A number of people with mental illness have been increasing during the time, therefore, roles of psychiatric nurses should be focused more on the mental health promotion and mental illness prevention by teaching and guiding on the promotion of mental health, and coordinating with the patient’s family, mental health service teams and organizations in the community to provide continuity of care for the patients. In addition,  monitoring and early case finding by screening high risk groups, and providing appropriate mental illness prevention services should be done. Nurses should promote family, community and society to take role in caring for psychiatric patients.


บทคัดย่อ
           บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปและนำเสนอความรู้ เกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมสุขภาพจิตสำหรับพยาบาลจิตเวช ที่มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต ในกลุ่มคนปกติ ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพจิต และผู้ป่วยจิตเวช  ปัจจุบันมีประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคทางจิตเวชเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นบทบาทของพยาบาลจิตเวชควรมุ่งเน้นในมิติด้านการส่งเสริมและป้องกันการเจ็บป่วยทางจิตให้มากขึ้น ควรมีการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพจิต โดยการสอนและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพจิตประสานงานกับครอบครัวผู้ป่วย ทีมสุขภาพจิตและองค์กรในชุมชนให้มีการดูผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง  ควรมีการจัดบริการป้องกันการเจ็บป่วยทางจิตไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชในกลุ่มเสี่ยงโดยการเฝ้าระวัง ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และจัดบริการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตอย่างเหมาะสม พยาบาลควรส่งเสริมให้ครอบครัวชุมชน และสังคม มีบทบาทในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชด้วย

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2554). กรอบทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตและแผนยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต ในช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉบับที่11 (พ.ศ. 2555-2559). (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: บริษัท ละม่อม จำกัด.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2559). รายงานประจำปีกรมสุขภาพจิตปีงบประมาณ 2559. กรุงเทพฯ: บางกอกบล๊อก.

กระทรวงสาธารณสุข. (2551). พระราชบัญญัติวิชาชีพ การพยาบาลและผดุงครรภ์พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ:
เพชรสยาม.

กาญจนา จันทร์ไทย, ธีรพร สถิรอังกูร, ประหยัด ประภาพรหม และราณี พรมานะจิรังกุล.(2556). มาตรฐานการพยาบาลจิตเวช
และสุขภาพจิต. เชียงใหม่: โรงพิมพ์เชียงใหม่.

โกศล วงศ์สวรรค์ และเลิศลักษณ์ วงศ์สวรรค์. (2551). สุขภาพจิต (Mental Health). กรุงเทพฯ :รวมสาส์น.

จุฑารัตน์ สถิรปัญญา. (2554). สุขภาพจิต. (พิมพ์ครั้งที่ 3). สงขลา : นำศิลป์โฆษณา จำกัด.

เจษฎา โชคดำรงสุข ใน วิรัลพัชร กิตติธะระพันธุ์ และนางวีณา บุญแสง (บรรณาธิการ). (2558). รวมบทความวิชาการ การประชุม
วิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 14 และการประชุมวิชาการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กครั้งที่ 12. นนทบุรี : สำนักบริหารระบบ
บริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต.
ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และศุกร์ใจ เจริญสุข. (2557). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่มที่1. (พิมพ์
ครั้งที่ 2). นนทบุรี: โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก.

ธีระนันท์ อินต๊ะเสนา. (2557). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพจิตแบบมีส่วนร่วมต่อความวิตกกังวลในผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นฤมล อุดมนา. (2555). การส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขในการคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต ในชุมชน: กรณีศึกษาบ้าน
หัวดง ตำบลห้วยเม็ก อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์. การศึกษาอิสระพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล
สุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล. (2551). กลยุทธ์การนิเทศเพื่อสัมฤทธิ์ผลขององค์กรพยาบาล. สืบค้นorg/knowledge/27-29_10.../DrSomsmai.pdf.

วิไลพรรณ สมบุญตนนท์. (2552). การพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาลกับงานวิจัย. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.bnct.ac.th/it/news2.php?id=5.

สภาการพยาบาล. (2556). หลักสูตรฝึกอบรมพยาบาลขั้นสูงระดับวุฒิบัตร สาขาการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. วิทยาลัยพยาบาลและผดุงครรภ์ขั้นสูงแห่งประเทศไทย ฉบับ 14 พฤษภาคม 2556.

ทัศนา บุญทอง และบุญทิพย์ สิริธรังศรี. (2553).หน่วยที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต. ใน ทัศนา บุญทองและคณะ (บรรณาธิการ), เอกสารการสอนชุดวิชาการส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชหน่วยที่ 1-7. (พิมพ์ครั้งที่10). นนทบุรีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ทัศนา บุญทอง และเปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย. (2553). หน่วยที่ 1 มโนมติของการพยาบาลจิตเวช. ใน ทัศนา บุญทองและคณะ (บรรณาธิการ), เอกสารการสอนชุดวิชาการส่งเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชหน่วยที่ 1-7. (พิมพ์ครั้งที่ 14). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุชาดา สาครเสถียร และพันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์. (2552). สรุปรายงานโครงการพัฒนาสุขภาพจิตภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : บียอนด์ พับลิสชิ่ง จำกัด.

สำนักส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2559). มาตรฐานการส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในโรงพยาบาลชุมชน (ฉบับปรับปรุง). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

อัมพร โอตระกูล. (2540). สุขภาพจิต. กรุงเทพฯ : วิทยพัฒน์.

American Psychiatric Association. (2015). What Is Mental Illness. Retrieved Febuary 2, 2016, from https://www.psychiatry.org/patientsfamilies/ what-is-mental-illness.

Elder, R., Evans, K., Nizette, D., & Trenoweth, S. (2014). Mental health nursing: A manual for practice. London: Churchill Livingstone Elsevier.

Fortinash, K. M., & Holoday - Worret, P.A. (Eds.) (2008). Psychiatric- mental health nursing (4th ed.) St. Louis: Mosby.

O’Brien, P.G., Kennedy, W.Z., & Ballard, K.A. (Eds.) (2008). Psychiatric- mental health nursing: An introduction to theory and practice. London : Jones and Publishers.

Townsend, M. C. (2008). Psychiatric- mental health nursing. Philadelphia : F.A. Davis Co. World Health Organization. (2013). Mental health action plan 2013-2020 Printed by the WHO Document Production Services, Geneva, Switzerland. Retrieved Retrieved Febuary 2, 2016, from http://www.who.int/mental_ health/publications/action_plan/en/

World Health Organization. (1997). Health Promotion Glossy. Geneva: WHO.

Wilkes, L., Jackson, D., Miranda, C., & Watson, R. (2012). The role of clinical trial nurses: An Australian perspective. Collegian, 19(4), 239-246.