การพัฒนารูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคม ด้วยการจัดการรายกรณีสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทซับซ้อน THE DEVELOPMENT OF PSYCHOSOCIAL REHABITATION CASE MANAGEMENT MODEL FOR THE COMPLICATED SCHIZOPHRENIC PATIENTS

Main Article Content

จลี เจริญสรรพ์
นพรัตน์ ไชยชำนิ

บทคัดย่อ

Abstract



Objective: The purpose of this study was to develop and evaluate the effectiveness of a psychosocial rehabilitation case management model for the complicated schizophrenic patients.
Methods: The development process involved study the problems and needs for developing the model, and develop the model and research instruments. After being verified by the experts, the developed model was tested for its effectiveness. Samples were 60 complicated schizophrenic patients who were selected using purposive sampling. Research instruments were rehabilitation manual for nurse manager. Data collection tools included 1) focus group guideline, 2) in-depth interview guideline, 3) the Thai personal and social performance (Thai-PSP), and 4) quality of life scale. Data were analyzed using statistics, content analysis, percentage, mean, and t-test.
Results: 1) The model comprises of relationship building, case screening, assessing for problems and social support, goal setting, action planning for individual rehabilitation, coordinating with multidisciplinary team,
implementing the plan, supervising to make sure that the plan was followed, and evaluating the plan.2) For model effectiveness testing, results showed that after experiment, the social functioning and quality of life of the experimental group were significantly higher than those before and those of control group at the .05.
Conclusion: The psychosocial rehabilitation case management model can be used to improve social functioning and quality of life of complicated schizophrenic patients.


บทคัดย่อ



วัตถุประสงค์: พัฒนารูปแบบการฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคมด้วยการจัดการรายกรณีสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทซับซ้อน และศึกษา
ประสิทธิผลของการใช้รูปแบบฯ
วิธีการศึกษา: กระบวนการพัฒนาประกอบด้วย ศึกษาปัญหาและความต้องการพัฒนารูปแบบฯ พัฒนาเครื่องมือ และสร้างรูปแบบฯ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบรูปแบบฯ รูปแบบฯได้ถูกนำไปทดลองใช้และถูกนำไปทดสอบประสิทธิผลในกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยโรคจิตเภทซับซ้อน 60 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยคือ คู่มือการฟื้นฟูฯสำหรับพยาบาลผู้จัดการรายกรณี เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แนวทางการสนทนากลุ่ม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบประเมินการทำหน้าที่ทางสังคม และแบบวัดคุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา หาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบประสิทธิผลรูปแบบฯใช้การทดสอบที (t-test) 
ผลการศึกษา: 1) รูปแบบฯ ประกอบด้วยการสร้างสัมพันธภาพ คัดเลือกผู้ป่วย ประเมินปัญหาและแหล่งสนับสนุนทางสังคม กำหนดเป้าหมาย จัดทำแผนฟื้นฟูฯผู้ป่วยรายบุคคลประสานงานทีมสหวิชาชีพ ดำเนินการฟื้นฟูฯ  กำกับให้เป็นไปตามแผนฯ และประเมินผล
2) การทดสอบประสิทธิผลของรูปแบบฯ ผลการวิเคราะห์พบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองทำหน้าที่ทางสังคมและคุณภาพชีวิตสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: สามารถนำรูปแบบฯ ไปใช้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการทำหน้าที่ทางสังคมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคจิตเภทซับซ้อน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมสุขภาพจิต. (2550). ชุดความรู้และแนวทางปฏิบัติ เรื่องการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยจิตเภท (ภาคผนวก). นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต
กระทรวงสาธารณสุข.

กรมสุขภาพจิต. (2551). รายงานประจำ ปี 2550. นนทบุรี: ศูนย์สารสนเทศ และประชาสัมพันธ์กองแผนงาน.

งานเวชระเบียนโรงพยาบาลสวนสราญรมย์. (2559). สถิติการมารับบริการและสถิติผู้ป่วยใน. สุราษฎร์ธานี: โรงพยาบาล
สวนสราญรมย์.

เชษฐา แก้วพรม. (2555). บทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมการฟื้นสภาพจิตใจสำหรับบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเภท. วารสารการ
พยาบาลวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า, 23(2), 73-80.

พรทิพย์ โพธิ์มูล. (2552). ผลของการใช้โปรแกรมการปรับเปลี่ยนมุมมองที่เน้นการหาทางออกสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ได้
รับการรักษาด้วยยาต้านอาการทางจิต. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, บัณฑิต
วิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.

มาโนช หล่อตระกูล และปราโมช สุคนิตย์. (2555). จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.

รัสดาพร สันติวงษ์. (2550). การบำบัดบนพื้นฐานของสติในการดูแลบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า. วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วลัยพร สุวรรณบูรณ์. (2557). ผลของโปรแกรมกลุ่มบำบัดตามแนวคิดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยจิตเภท.
วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศรีวิไล โมกขาว. (2554). ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนมุมมองที่เน้นการหาทางออกสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภท. วารสารการพยาบาล
จิตเวชและสุขภาพจิต, 25(3), 56-68.

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, จิรวรรณ ตันติวิวัฒนสกุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, กรองจิต วงษ์สุวรรณ, และราณี พรหมานะจิรังกุล. (2540).
เปรียบเทียบแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์กรอนามัยโลกทุก 100 ตัวชี้วัด และ 26 ตัวชี้วัด. เชียงใหม่: สวนปรุงการพิมพ์.

เอกอุมา อิ้มค้ำ. (2556). การบำบัดด้านจิตสังคมในผู้ป่วยโรคจิตเภทที่ใช้สารเสพติด : การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์. วารสาร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 21(7), 697-710.
Ascher-Svanum, H., Zhu, B., Fraies, D. E., Salkever, D., Slade, E.P., Peng, X., & Conley, R.R. (2010). The cost of
relapse and the predictors of relapse in the treatment of schizophrenia. BioMed Central Psychiatry, 10(2), 1-7.
doi:10.1186/1471-244x-10-2.

Chaichumni, N. (2014). The effect of a Thai culturally-based mutual support program on social unctioning of persons
with schizophrenia. (Unpublished doctoral dissertation). Songkhla : Prince of Songkla University.

Chien, W.T., Norman, I., & Thompson, D. R. (2006). Perceived benefits and difficulties experienced in a mutual
support group for family careers of people with schizophrenia. Qualitative Health Research, 16(7), 962-981.

Chien, W.T., & Norman, I. (2009). The effectiveness and active ingredients of mutual support groups for family
caregivers of people with psychotic disorders: A literature review. International Journal of Nursing Studies, 46,
1604-1623. doi: 10.1016. 2009.04.003

Farkas, M., & Anthony, W. A. (2010). Psychiatric rehabilitation interventions : A review International Review of Psychiatry. Community Mental Health Journal, 22(2), 114-129.

Farkas, M., Cohen, M., & Nemce, P. (1988). Psychiatric rehabilitation programs: Putting concepts into practice. Community Mental Health Journal, 24(1), 7-21.

Harrison, J., & Gill, A. (2010). The experience and consequences of people with mental health problems, the stigma
upon people with schizophrenia: a way forward. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 17(3), 242-250.

Kaewprom, C. (2011). Perceptions and practices regarding recovery from schizophrenia among Thai mental health
nurses. Ph.D Thesis. University of Wollongong.

Kaewprom, C., Curtis, J., & Deane, F. P. (2009). Nurses’ perceptions and practices regarding recovery from Schizophrenia: a descriptive qualitative study. Journal of Health Science, 3(2), 1-12.

Kern, R. S., Glynn, S. M., Horan, P., & Marder, R. (2009). Psychosocial treatments to promote functional recovery in
schizophrenia. Schizophrenia Bulletin, 35(2), 347-361. doi: 10.1093/schbul/sbn177.

Kim, S. J., & Han, Y. S. (1997). The relation of social function, cognitive function and symptom of chronic Schizophrenia. Korean Journal Clinical Psychology, 16, 27-40.

Suphaaksorn, B. (2010). The effect of stress management program on functioning of schizophrenic patients in
community. Bangkok: Chulalonkorn University.

Peplau, H. E. (1952). Interpersonal relations in nursing. New York: G.P. Putnam’s Sons.

Phanthunane, P., Vos, T., Whiteford, H., Bertram, M., & Udomratn, P. (2010). Schizophrenia in Thailand: Prevalence
and burden of disease. Population Health Metrics, 8, 24. doi:10.1186/1478-7954-8-24.

Powell, S. K. (1996 ). Case Management: A Practical Guide to Success in Managed Care. Philadelphia: Lippincott –
Raven.
Srisurapanont, M., Arunpongpaisal, S., Chuntaruchikapong, S., Silpkit, C., Khuangsinkul,V., Karnjanathanaler, N., &
Samanwongthai, U. (2008). Cross-cultural validation and interrater reliabitity of the Personal and Social
Performance Scale, Thai version. Journal of Medicine Associations of Thailand, 91(10), 1603-1608.

Till, U. (2007). The values of recovery within mental health nursing. Mental Health Practice, 11(3), 32-36.