ความเครียด ความวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า ของนักเรียนวัยรุ่นที่เตรียมตัวสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย STRESS ANXIETY AND DEPRESSION OF HIGH SCHOOL TEENAGER IN PREPARATION FOR UNIVERSITY ADMISSION

Main Article Content

สุจิตรา อู่รัตนมณี
สุภาวดี เลิศสำราญ

บทคัดย่อ

Abstract



Objective: To explore levels of stress, anxiety, and depression among adolescents in Samut Songkhram province in preparation for university admission.
Methodology: This is a descriptive research. The samples consist of 364 adolescents. The research instruments include the questionnaire on personal information, Suanprung Stress Test 20 (SPST – 20), State-Trait Anxiety Inventory form Y-1 (STAI form Y-1) and the Center for Epidemiological Studies-Depression Scale (CES-D). The data analysis is conducted by using descriptive and correlation statistics.
Results: The majority of the samples have a high level of stress (56.6%), followed by severe stress (22.0%). Family expectation and workloads are positively associated with stress with a .05 level of statistical significance. However, family income and family support are negatively associated with stress with a .01 level of statistical significance. According to the findings, most adolescents have a moderate level of anxiety(67.0%), followed by a low level of anxiety (25.8%). Family expectation is positively associated with anxiety with a .05 level of statistical significance. Family income and family support are negatively associated with anxiety with a .01 level of statistical significance. Based on the results of the depression scale, 21.4% of them have a high level of depression scores, and they should be referred for further diagnosis. 
Conclusion: Most adolescents in preparation for university admission in Samut Songkhram province have a high-severe level of stress, a moderate-low level of anxiety, and some of them have a high level of depression.


บทคัดย่อ



วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระดับความเครียดความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในจังหวัดสมุทรสงครามที่เตรียมตัวสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย
วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงบรรยายกลุ่มตัวอย่างจำนวน 364 คน เครื่องมือได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความเครียดสวนปรุง (SPST – 20 ฉบับภาษาไทย) แบบประเมินความวิตกกังวล (STAI form Y-1 ฉบับ ภาษาไทย) และแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า (CES-D ฉบับภาษาไทย) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติความสัมพันธ์ 


ผลการศึกษา: พบว่าส่วนใหญ่มีความเครียดสูง (ร้อยละ 56.6) รองลงมามีความเครียดรุนแรง (ร้อยละ 22.0) ความคาดหวังของครอบครัว ปริมาณงานที่ได้รับ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ขณะที่รายได้ครอบครัวและการสนับสนุนจากครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางลบกับระดับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 และพบว่าส่วนใหญ่มีความวิตกกังวลปานกลาง (ร้อยละ 67.0) รองลงมามีความวิตกกังวลในระดับต่ำ (ร้อยละ 25.8) โดยความคาดหวังของครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่.05 รายได้ครอบครัวและการสนับสนุนจากครอบครัวมีความสัมพันธ์ทางลบกับระดับความวิตกกังวล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 ผลการคัดกรองภาวะซึมเศร้าพบว่าร้อยละ 21.4 มีภาวะซึมเศร้าระดับที่มีความสำคัญทางคลินิกควรได้รับการวินิจฉัย
สรุป: วัยรุ่นที่เตรียมตัวสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยจังหวัดสมุทรสงครามส่วนใหญ่มีความเครียดในระดับสูงถึงรุนแรง มีความวิตกกังวลปานกลางถึงต่ำ และมีส่วนหนึ่งที่มีภาวะซึมเศร้าสูง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แบบวัดความเครียดสวนปรุง. ข้อมูลสืบค้น ณ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2559 ที่มา
http://www. dmh.go. th/test/stress/

ณิชาภัทร รุจิรดาพร และอุมาพร ตรังคสมบัติ. (2552). ความซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในเขตกรุงเทพมหานคร.
วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 54(4), 337-346.

นวลจิรา จันระลักษณะ, ทัศนา ทวีคูณ และโสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 29 (2), 128-143.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การเลือกกลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัย. การวิจัยเบื้องต้นพิมพ์ครั้งที่ 9. สุรีวิยาสาส์น.

ปัทมา อินทร์พรหม และชัยชนะ นิ่มนวล. (2549). ความเครียดของเด็กชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในการสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย ใน
เขตกรุงเทพมหานคร. Journal of Mental Health of Thailand, 14(3), 182-190.

พรชัย หลายพสุ, ดวงทิพย์ คงสบสิน , พัชรี วรรณสินและภาณุ ลิ้มวราภัส. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย กรณีศึกษาโรงเรียนในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร. วารสารรายงานการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์. ข้อมูลสืบค้น ณ วันที่14เมษายน 2559 ที่มา http://frc.forest.ku.ac. th/frcdatabase
bulletin/kuconfer/49/Poster/09_079_P279.pdf

พลิศรา อังศุสิงห์ และศิริชัย หงส์สงวนศรี. (2555). โรคทางจิตเวชของเด็กและวัยรุ่น. ในมาโนชน์ หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์
(บรรณาธิการ), จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี(พิมพ์ครั้งที่ 3). ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี.

มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2558). ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาลขณะฝึกปฏิบัติงานห้องคลอด. วารสาร
เกื้อการุณย์, 22(1), 7-16.

ศลักขณา กิติทัศน์เศรณี, สุปาณี สนธิรัตน์ และทิพวัลย์ สุรินยา. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเลี้ยงดูของบิดามารดา
กับภาวะซึมเศร้าของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4. รามาธิบดีพยาบาลสาร,15(1), 36-47.

ศุภชัย ตู้กลาง, อรพรรณ ทองแตง, ธีรศักดิ์ สาตราและสุชีรา ภัทรายุตวรรน์. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะซึมเศร้าของนักเรียนวัยรุ่น
ตอนต้นในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(3), 283-294.

สุนิสา ตะสัย. (2550). ความเครียดและการแก้ปัญหาความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สุภาภัทร ทนเถื่อน. (2553). การศึกษาความเครียดและวิธีเผชิญความเครียดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. สารนิพนธ์ปริญญา
การศึกษามหาบัณฑิตกรุงเทพฯ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ข้อมูลสืบค้น ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2559.
ที่มาhttp://ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/ 1121/Supapat_T. pdf?sequence=1

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2554). การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและการปรับตัว. การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช. กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุมาพร ตรังคสมบัติ, วชิระ ลาภบุญทรัพย์ และปิยลัมพร หะวานนท์. (2540). การใช้ CES-D ในการคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น.
วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 42(1), 2-13.

Blazer, C. (2010). Student stress. Information capsule research service, 1006, 1-18.

Crandell, T., Crandell, C., & Vander, Z. J. (2012). Human development (10th ed). New York, NY: McGraw Hill.

Feldman, S. R. (2008). Adolescence. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall. Intorn.

Goel, A., & Bardhan, S. (2016). Effect of stress on self-efficacy and emotional intelligence among collegestudents of
humanities and sciences: A study on gender differences. International Journal of Applied Research, 2(12), 318-
328.

Joseph, M. R., Tolulope, T. B., & Jing, L. (2015). Mood disorder: Depression on children and adolescents. IACAPAP
Textbook of child and adolescent mental health 2015 edition, 1-36.

Magwa, S. (2013). Stress and Adolescent Development. Greener Journal of Educational Research, 3(8), 373-380.

Horwitz, A. G., Hill, R. M., & King, C. A. (2011). Specific coping behaviors in relation to adolescent depression and
suicidal ideation. Journal of adolescence, 34, 1077-1085.