การวิเคราะห์องค์ประกอบสมดุลชีวิตและการทำงานของพยาบาลจิตเวช A FACTOR ANALYSIS OF WORK LIFE BALANCE OF PSYCHIATRIC NURSES

Main Article Content

กุณฑ์ชลี เพียรทอง
กชพงศ์ สารการ
รสวลีย์ อักษรวงศ์

บทคัดย่อ

Abstract



Objective: To analyze the components of work life balance of psychiatric nurses.
Method: Descriptive research was used in this study. The samples were 340 nurses from the Department of Mental Health, Ministry of Public Health. The samples were selected by the stratified random sampling. Research instruments composed of six set of questionnaires with the reliability ranged from 0.77 to 0.92. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and M plus statistical analysis.
Result: The result from the confirmatory factor analysis revealed 3 components of work life balance which were satisfaction in work life balance (weight component: 0.73), involvement in work life balance (weight component: 0.72) and time in work life balance (weight component: 0.70).


บทคัดย่อ



วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบสมดุลชีวิตและการทำงานของพยาบาลจิตเวช


วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยตัวอย่างเป็นพยาบาลจิตเวช สังกัดกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 340 คน เลือกตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัด ประกอบด้วย 6 ส่วน มีค่าความเชื่อมั่นตั้งแต่ 0.77 ถึง 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและโปรแกรม M plus


ผลการศึกษา: พบว่า องค์ประกอบเชิงยืนยันของตัวแปรแฝงสมดุลชีวิตและการทำงานประกอบด้วย สมดุลชีวิตและการทำงานด้านความพึงพอใจ มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบเท่ากับ 0.73 สมดุลชีวิตและการทำงานด้านความผูกพันทางจิตใจมีค่าเท่ากับ 0.72 และสมดุลชีวิตและการทำงานด้านเวลา มีค่าเท่ากับ 0.70


 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กองการเจ้าหน้าที่, กรมสุขภาพจิต. (2558). รายงานผลการประเมินความผูกพันของบุคลากรต่อองค์การในภาพรวมของกรมสุขภาพจิต
ประจำปีงบประมาณ 2558. กรุงเทพมหานคร:กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล.

เกษมสิษฐ์ แก้วเกียรติคุณ. (2552). ตัวแบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างงานกับครอบครัวของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์
การจัดการดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ขนิญร์นัสท์ อินทุลักษณ์ และ อารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2557). การสร้างสมดุลชีวิตกับงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 382-389.

ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2559). ระเบียบวิธีวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 2). อุบลราชธานี: วิทยาการพิมพ์.

ภาณุภาคย์ พงศ์อติชาต. (2559). ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน Work-life balance. สืบค้นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2558, จาก
http://journal.fms.psu.ac.th/files/Article_JOFMS/No.3%20V.1%1
057/FMS_journal%20No31%20Vol.1%202557.8.pdf.

รวีวรรณ เล็กวิลัย. (2549). การบริหารการพยาบาลการปฏิบัติการพยาบาล การพัฒนาคุณภาพการพยาบาล และผลงานวิจัยใหม่ๆ ใน
ด้านการพยาบาล. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน2559, จาก http://www.srisangworn.go.th/modules.php?
p=modload&name=News&file=article&sid=215.

วรวรรณ ตอวิวัฒน์. (2555). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ กรณีศึกษา ข้าราชการกรมศุลกากรที่สังกัด
ส่วนกลาง (คลองเตย). วิทยานิพนธ์รัฐ-ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกริก.

วิลาวัลย์ มาคุ้ม. (2549). การพัฒนาตัวบ่งชี้การจัดการความรู้ของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ์
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศยามล เอกะกุลานันต์. (2554). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมดุลระหว่างงานและชีวิตที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทำงานที่มี
ประสิทธิภาพของพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์เขตภาคตะวันออกของประเทศไทย. รายงานการวิจัยภาควิชา
จิตวิทยาคณะสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สุภมาศ อังศุโชติ และคณะ. (2552). สถิตวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ : เทคนิค การใช้โปรแกรม
LISREL. กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่งคงการพิมพ์.

Allen, T. D., Herst, D. E, Bruck, C. S., & Sutton, M. (2000). Consequences Associated with work-to family conflict: A
review and agenda for future research. Journal of Occupational Health Psychology. 5, 278-308.

Battu, N., & Chakravarthy, G.K.(2014). Quality of Work Life of Nurse and Paramedical Staff in Hospitals. International
Journal of Business and Administration Research Review, 2(4), 200-207.

Fu, C. K. , & Shaffer, M.A. (2001.) The Tug of Work and Family: Direct and Indirect Domain-Specific Determinants of
Work-Family Conflict. Personnel Review, 5(30), 502-522.

Greenhaus, J. H., Collins, K. M., & Shaw, J. D. (2003). The relation between work–family balance and quality of life.
Journal of Vocational Behavior, 63, 510–531.

Hair, J. F., Anderson, R.E., Tatham, R. L., & Black, W.C. (1998). Multivariate data analysis (5th ed.). Upper Saddle
River, New Jersy: Prentice–Hall.

Kim, J., & Mucller, C.W. (1978). Factor analysis: statistical methods and practical issue. Beverley Hill: Sage Publication.

Noon, M., & Blyton, P. (2007). The realities of work. Basingstoke: Palgrave Macmillan.

Yildirim, D., & Aycan, Z. (2008). Nurses work demand and work family conflict: A questionnaire survey. International
Journal of Nursing Studies, 45(9), 1366-1378.