ผลของกลุ่มสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท

Main Article Content

สุกัญญา แก้วศิริ
เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ



วัตถุประสงค์: การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทก่อนและหลังได้รับกลุ่มสนับสนุนและให้ความรู้และเพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทระหว่างกลุ่มที่ได้รับกลุ่มสนับสนุนและให้ความรู้กับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ



วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยจิตเภทที่มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 40 คน กลุ่มตัวอย่างได้รับการจับคู่ด้วย อายุ และระยะเวลาในการดูแลผู้ป่วยแล้วใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คนโดยกลุ่มทดลองได้รับการ
ดูแลตามแผนการดำเนินกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนและใหความรู้ส่วนกลุ่มควบคมุ ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 5 ฉบับ  ซึ่งผ่านการทดสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบที (t-test)



ผลการศึกษา: ความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทหลังเข้ากลุ่มสนับสนุนและให้ความรู้สูงกว่าก่อนเข้ากลุ่มสนับสนุนและให้ความรู้และสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

แก้วตา มีศรี. (2554). ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถในการดูแลบุคคลที่ต้องพึ่งพาของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คมสัน แก้วระยะ. (2542). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุสัมพันธภาพระหว่างผู้ดูแลกับผู้สูงอายุและความเครียดในภาระของผู้ดูแลผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมือง จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เตือนใจ ภักดีพรหม. (2548). ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระ ลีลานันทกิจ. (2552). การรักษาทางจิตสังคม. ใน พิเชฐ อุดมรัตน์ และสรยุทธ วาสิกนานนท์, ตำราโรคจิตเภท. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.

นพรัตน์ ไชยชำนิ. (2544). ผลของการใช้โปรแกรมการดูแลผู้ดูแลแบบองค์รวมต่อภาระและความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นวนันท์ ปิยะวัฒน์กูล และคณะ. (2552). ประสิทธิภาพของการทำครอบครัวบำบัดแนวทฤษฎี Satir สำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภท. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการสนับสนุนทุนวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นิภาภัทร ภัทรพงศ์บัณฑิต. (2548). ผลการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความสามารถในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิเชฐ อุดมรัตน์ และสรยุทธ วาสิกนานนท์. (2552). ตำราโรคจิตเภท. พิมพ์ครั้งที่ 1. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.

วาสนา ปานดอก. (2545). กิจกรรมการดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่บ้านของผู้ดูแล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิสาข์ วัชระศิริบรรลือ และศุภร วงศ์วทัญญู. (2554). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสามารถของผู้ดูแลในการดูแลการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง. ในการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 23, หน้า 449-456. ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลอีสาน.

ศิริกาญจนา เอกสิริไตรรัตน์. (2543). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคล ความรู้เรื่องโรคหอบหืด ความเชื่อมั่นในความสามารถของตน การสนับสนุนทางสังคมกับความสามารถของมารดาในการดูแลบุตรโรคหอบหืด. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาธารณสุขศาสตร์ สาขาการพยาบาลสาธารณสุข,
คณะสาธารณสุขศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมจิต หนุเจริญกุล. (2536). การดูแลตนเอง:ศาสตร์และศิลปะทางการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี เจพริ้นติ้ง.

สายฝน เอกวรางกูร. (2558). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตศาสตร์และศิลป์สู่การปฏิบัติ 2. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : โรงพิมพ์ไทม์พริ้นติ้ง.

สุนันทา นวลเจริญ. (2553). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อความสามารถในการดูแลบุคคลที่พึ่งพาของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท.วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

รัตน์ศิริ ทาโต. (2551). การวิจัยทางพยาบาลศาสตร์:แนวคิดสู่การประยุกต์ใช้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Bae, S. M., Lee, S. H., Park, Y. M., Hyun, M. H., & Yoon, H. (2010). Predictive factors of social functioning in patients with schizophrenia: Exploration for the best combination of variables using data mining. Psychiatry Investigation. 7, 93-101.

Burns, N. & Grove, S. K. (2005). The practice of nursing research: conduct, critique, and utilization. 5th Ed. Philadelphia: Elsevier Saunders.

Canive, J. M., Sanz-Fuentenebro, J., Vazquez, C., Qualls, C., Fuentenebro, F., Pérez, I. G., et al. (1996). Family psychoeducational support groups in Spain: Parents’ distress and burden at nine-month follow-up. Annals of Clinical Psychiatry, 8(2), 71–79.

Chan, S. & Yu, I. W. (2004). Quality of life of clients with schizophrenia. Journal of Advanced Nursing, 45(1), 72-83.

De Melo, F. (2001). Support group for PLWHA in India. The Fifth International Conference on Home and Community Care for Persons Living with HIV/AIDS, 2001, Chiang Mai, Ministry of Public Health ; Ministry of Interior.

Evers GCM, et al. (1986). The appraisal of self-care agency’s ASA-Scale: research program to test reliability and validity. In: Proceedings of the International Nursing Research Conference “New Frontiers in Nursing Research”. Edmond, 1986. Canada: University of
Alberta.

Kane, J. M., & Marder, S. R. (1993). Psychopharmacologic treatment of schizophrenia. Schizophrenia Bulletin, 19, 287-302.

Kaur, S., Behera, D., Gupta, D., & Verma, S. K.(2009). Evaluation of a supportive educative intervention on Self-Care in patients with bronchial asthma. Nursing and Midwifery Research Journal, 5(2), 124-132.

Lefley, H. P. (1987). Aging parent as caregivers of mentally ill adult children: An emerging social problem. Hospital & Community Psychiatry, 38(10), 1063-1070.

Magliano, L., Fiorillo, A., De Rosa, C., Maj, M., & the National Mental Health Project Working, G. (2006). Family burden and social network in schizophrenia vs. physical diseases: preliminary results from an Italian national study. Acta Psychiatrica Scandinavica,
113, 60-63.

Magliano, L., Fiorillo, A., De Rosa, C., Maj, M., & Malangone, C. (2005). Family burden in long-term diseases: a comparative study in schizophrenia vs. physical disorders. Social Science and Medicine, 61(2), 313-322.

Manidipa, G. (2001). Self-Support group for the HIV individuals. The Fifth International Conference on Home and Community Care for Persons Living with HIV/AIDS, 2001, Chiang Mai, Ministry of Public Health ; Ministry of Interior.

Orem, D. E. (1985). Nursing concepts of practice. 3thed. New York: McGraw Hill Book.

Orem, D. E. (1995). Nursing concepts of practice. 5thed. St. Louis: Mosby Year Book.

Orem, D. E. (2001). Nursing concepts of practice. 6thed. St. Louis: Mosby Year Book.

Redman, B. K. (1993). The process of patient teaching in nursing. 4th Ed. St. Louis: Mosby Company.

Sawatzky, J. E., & Fowler-Kerry. (2003). Impact of caregiving: listening to the voice of informal caregivers. Journal of Psychiatric and Mental health Nursing, 10, 277–286.

Stewart, B. J., & Archbold, P. G. (1996). Family caregiver inventory: The caregiver’s view. Portland: Oregon Health Sciences University, School of Nursing.

World Health Organization. (2017). Schizophrenia [Online]. Retrieved 8, December, 2017 fromhttp://www.who.int/ mentalhealth/management/schizophrenia/en