พยาบาลกับการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน

Main Article Content

ทศา ชัยวรรณวรรต
สุจิตรา กฤติยาวรรณ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอ แนวคิด หลักการ และทบทวนความรู้เกี่ยวกับการ พยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชนตามแนวทาง การดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน และมาตรฐาน การบริการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน พยาบาลจิตเวชและพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน ด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ดูแลสุขภาพจิตของประชาชน และผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน ให้สอดคล้องกับ นโยบายของประเทศในการดูแลประชาชนด้าน สุขภาพจิต ปัจจุบันผู้ป่วยโรคทางจิตเวชเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งโรคทางจิตเวชนับเป็นโรคที่ทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพสูง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตต่ำ และ เป็นภาระทางสังคมสูง ดังนั้นพยาบาลที่ปฏิบัติงาน ด้านจิตเวชในชุมชนจึงมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่ง ในการส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตใน ชุมชน และการดูแลอย่างต่อเนื่องโดยการสนับสนุน ให้ผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังที่อยู่ในชุมชนสามารถดูแล ตนเองได้ และปฏิบัติ ตามแผนการรักษา นำไปสู่ลด การกลับเป็นซ้ำ เพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และ ลดภาระของผู้ดูแล

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสุขภาพจิตและสำนักการพยาบาล กระทรวง สาธารณสุข. (2556). มาตรฐานการพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต. นนทบุรี: กรม สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.

ฉวีวรรณ สัตยธรรม. (2556). สุขภาพจิตชุมชนและ การดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน (Community Mental Health and Psychiatric Home Care). ใน ฉวีวรรณ สัตยธรรม แผ จันทร์สุข และ ศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ), การพยาบาล จิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่มที่ 2. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

มงคล ศิริเทพทวี. (2558). คู่มือการดำเนินงานการ ดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน. สืบค้น เมื่อ 2 มกราคม 2560, จาก https://www.nhso. go.th

วิจิตร ศรีสุพรรณ และกาญจนา จันทร์ไทย. (2556). คู่มือปฏิบัติงานพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

สายฝน เอกวรางกูร (บรรณาธิการ). (2558). การ พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต : ศาสตร์และ ศิลป์สู่การปฏิบัติ 2. นครศรีธรรมราช: ไทม์ พริ้นติ้ง.

สำนักยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต. (2560). แผน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต ในช่วงแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). สืบค้นเมื่อ 2 มกราคม 2560, จาก https://www.dmh.go.th

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. (2556). การพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

Crowe, M. (2006). Psychiatric diagnosis: some implications for mental health nursing care. Journal of Advanced Nursing, 31(3), 583–589

Coffey, M., & Hannigan, B. (2013). New roles for nurses as approved mental health profes¬sionals in England and wales. International Journal of Nursing Studies, 50, 1423 -1430.

Greasley, P., & Chiu, L. F., (2008). The concept of spiritual care in mental health nursing. Journal of Advanced Nursing, 33(5), 629-637.

Ebert, D. D., Cuijpers, P., Muñoz, R., F., & Baumeister, H. (2017). Prevention of mental health disorders using internet and Mobile- Based Interventions: A narrative review and recommendations for future research. Frontiers in Psychiatry, 8, 116. doi: 10.3389/ fpsyt.2017.00116

Huang, X. Y., Ma, W. F., Shih, H. H., & Li, H. F. (2008). Roles and functions of community mental health nurses caring for people with schizophrenia in Taiwan. Journal of Clinical Nursing 17(22), 3030 - 3040

Ilyas, A., Chesney, E., & Patel, R. (2017). Improving life expectancy in people with serious mental illness: Should we place more emphasis on primary prevention? The British Journal of Psychiatry, 211(4), 194 -197.

Koekkoek, B., Meijel, B. V., Schene, A., Smit, A., Kaasenbrood, A., & Hutschemaekers, G. (2012). Interpersonal community psychiatric treatment for non-psychotic chronic patients and nurse outpatient mental health care: A controlled pilot study on feasibility and effects. International Journal of Nursing Studies, 49, 549-559.

Svedberg, P., Jormfeldt, H., & Arvidsson, B. (2003). Patients’ conceptions of how health processes are promoted in mental health nursing. A qualitative study. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 10(4), 448 - 456.

Terry, D., L., Gordon, B., H., Steadman-Wood, P., & Karel, M., J. (2017). A peer mentorship program for mental health professionals in Veterans Health Administration Home- Based Primary Care. Clinical Gerontologist, 40(2), 97-105.

World Health Organization. (2001). The world health report 2001: Mental health, new understanding, new hope. Geneva: World Health Organization.