ความสัมพันธ์ระหว่างเพศ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ความแข็งแกร่งในชีวิต และการสนับสนุนทางสังคม กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

ผู้แต่ง

  • ปุณิกา กิตติกุลธนันท์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พัชรินทร์ นินทจันทร์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • โสภิณ แสงอ่อน โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน, ความแข็งแกร่งในชีวิต, การสนับสนุนทางสังคม, ภาวะซึมเศร้า, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างเพศ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ความ แข็งแกร่งในชีวิต และการสนับสนุนทางสังคม กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุใน ชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 242 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามข้อมูล ส่วนบุคคล แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันดัชนีบาร์เทล แบบประเมินความ แข็งแกร่งในชีวิต แบบสอบถามความรู้สึกหลากหลาย มิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม และแบบวัด ความเศร้าในผู้สูงอายุของไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์แบบสเปียร์- แมน และไคสแควร์

ผลการศึกษา: ผลการวิจัย พบว่า การปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะ ซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (rs = - .161; p < .05) ความแข็งแกร่งในชีวิต และการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (rs = - .509, - .277, p < .001) สำหรับ ปัจจัยเพศพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า (X2 = .264, p = .608) ผลจากการวิจัยครั้งนี้สามารถ นำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการเสริมสร้างความ แข็งแกร่งในชีวิตและลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ ในชุมชนต่อไป

References

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2557ก). จำนวนและอัตราผู้ป่วยสุขภาพจิตต่อประชากร 100,000 คน. เข้าถึงเมื่อ 30 ธันวาคม 2557, จาก http://www.dmh.go.th/report/ report1.asp

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2557ข). รายงานจำนวนการฆ่าตัวตายของประเทศไทยแยกตามช่วงอายุ. เข้าถึงเมื่อ 13 มกราคม 2560, จาก http://www.dmh.go.th/ report/suicide/age.asp

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2559). จำนวนและอัตราผู้ป่วยสุขภาพจิตต่อประชากร100,000 คน. เข้าถึงเมื่อ 1 มกราคม 2560, จาก http://www.dmh.go.th/report/report1.asp

กาญจนา กิริยางาม. (2553). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในแผนกอายุรกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.

จินตนา เหลืองศิริเธียร. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในจังหวัดเพชรบูรณ์. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาพัฒนาการบัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ช่อผกา สุทธิพงศ์ และศิริอร สินธุ. (2012). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมองในเขตชุมชนเมือง. วารสารพยาบาลศาสตร์, 30(1), 28-39.

ชัดเจน จันทรพัฒน์, สุนุตตรา ตะบูนพงศ์, และวันดี สุทธรังสี. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรรกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุใน โรงพยาบาลทั่วไปภาคใต้ของไทย. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 12(2), 80-89.

ชัยวัฒน์ อินไชยา. (2558). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.

ดาราวรรณ ต๊ะปินตา. (2555). ภาวะซึมเศร้า: การบำบัดและการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม. เชียงใหม่: วนิดา การพิมพ์.

เทพฤทธิ์ วงศ์ภูมิ และอุมาพร อุดมทรัพยากุล. (2554). ความชุกของโรคซึมเศร้าในประชากรสูงอายุจังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 56(2), 10-116.

บุษราคัม จิตอารีย์. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในชุมชนจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล เวชปฏิบัติชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

พัชรินทร์ นินทจันทร์. (2558). ความแข็งแกร่งในชีวิต. ใน พัชรินทร์ นินทจันทร์ (บรรณาธิการ), ความแข็งแกร่งในชีวิต แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ใช้ (หน้า 3-32). กรุงเทพฯ: จุดทอง.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, จริยา วิทยศุภร, นพวรรณ เปียซื่อ, ทัศนา ทวีคูณ, และพิสมัย อรทัย. (2552). คู่มือการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต. โครงการพัฒนา ศักยภาพประชากรไทย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

พัชรินทร์ นินทจันทร์, โสภิณ แสงอ่อน, และทัศนา ทวีคูณ. (2555). โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต (A Resilience- Ehancing Program). กรุงเทพฯ: จุดทอง.

พีรพนธ์ ลือบุญธวัชชัย. (2553). การบำบัดรักษาทางจิตสังคมสำหรับโรคซึมเศร้า. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

มาโนช หล่อตระกูล. (2544). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับโรค ซึมเศร้า. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์.

มุจรินทร์ พุทธเมตตา และรังสิมันต์ สุนทรไชยา. (2559). ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง. วารสารการพยาบาลจิตเวช และสุขภาพจิต, 30(2), 69-81.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, (2558). สังคมสูงวัย. เข้าถึงเมื่อ 13 มกราคม 2559, จาก http://thaitgri.org/

เยาวรัตน์ ขันธวิชัย. (2544). ปัจจัยที่เป็นตัวทำนาย ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้น เรื้อรังในจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ พยาบาลผู้สูงอายุ, มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิชุดา อุ่นแก้ว และปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์. (2558). ความชุกของภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร้าว อำเภอเมือง จังหวัด หนองบัวลำภู. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 3(4), 577-589.
วิไลวรรณ ทองเจริญ. (2558). ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: เอ็นทีเพรส.

สมใจ โชติธนพันธุ์. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุบ้านบางแค. สารนิพนธ์บัณฑิต ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สมภพ เรืองตระกูล. (2554). ตำราจิตเวชศาสตร์พื้นฐานและโรคทางจิตเวช (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.

สมศักดิ์ ชุนหรัศมิ์. (2552). สถานการณ์ผู้สูงอายุ ไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัย และพัฒนาผู้สูงอายุไทย.

สายฝน เอกวรางกูร. (2554). รู้จัก เข้าใจ ดูแล ภาวะ ซึมเศร้า. กรุงเทพฯ: ส.เอเชียเพรส.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. (2554). สถิติสาธารณสุข 2554. เข้าถึงเมื่อ 20 มกราคม 2560, จาก http://bps.moph.go.th.

สุชีรา ภัทรายุตวรรณ์. (2556). คู่มือวัดทางจิตวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 5, หน้า 272). กรุงเทพฯ: ตรีเทพ

สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล และคณะ. (2541). หลักสำคัญ ของเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ภาวะซึมเศร้า: ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยปกป้องและความแข็งแกร่งในชีวิต. ใน พัชรินทร์ นินทจันทร์ (บรรณาธิการ). ความแข็งแกร่งในชีวิต แนวคิด การประเมิน และการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: จุดทอง.

อาคม บุญเลิศ. (2559). ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชนเขตรับผิดชอบของสถานบริการ ปฐมภูมิสามเหลี่ยม จังหวัดขอนแก่น. ศรีนครินทร์เวชสาร, 31(1), 25-33.

Alexandrino-Silva, C., Alves, T. F., Tofoli, L. F., Wang, Y. P, & Andrade, L. H. (2011). Psychiatry - life events and social support in late life depression. Clinics, 66(2), 233-238.

Ang, S., & Malhotra, R. (2016). Association of received social support with depressive symptoms among older males and females in Singapore: Is personal mastery an inconsistent mediator. Social Science & Medicine, 15(3), 165-173.

Barry, L. C., Murphy, T. E., & Gill, T. M. (2011). Depression and functional recovery after a disabling hospitalization in older persons. Journal of the American Geriatrics Society, 59(7), 1320–1325. doi:10.1111/ j.1532-5415.2011. 03453.x

Bierman, A., & Statland, D. (2010). Timing, social support, and the effects of physical limitations on psychological distress in late life. Journal of Gerontology: Social Sciences, 65(5), 631-639.

Boen, H., Dalgard, O. S., Johansen, R., & Nord, E. (2012). A randomized controlled trial of a senior center group programme for increasing social support and preventing depression in elderly people living at home in Norway. BioMed Central Geriatrics, 12(20), 1-11.

Bozo, O., Toksabay, N. E., & Kurum, O. (2009). Activities of daily living, depression, and social support among elderly Turkish people. The Journal of Psychology, 143(2), 193-205.

Choi, N. G., & Ha, J. H. (2011). Relationship between spouse/partner support and depressive symptoms in older adults: Gender difference. Aging and Mental Health, 15(3), 307-317.

Chi, I., & Chou, K. L. (2001). Social support and depression among elderly Chinese people in Hong Kong. The International Journal of Aging and Human Development, 52(3), 231-252.

Cohen, J. (1988). Statistical power analysis for the behavioral sciences (2nd ed.). Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum Associates.

Groberg, E. H. (1995). A guide to promoting resilience in children: Strengthening the human spirit. The Hague: The Bernard van Leer Foundation.

Grotberg, E. H. (1997). The International resilience project: Findings from the research and the effectiveness of interventions. Retrieved March 2, 2015 from http://resilnet.uiuc.edu/

Isaacs, B., & Akhtar, A. J. (1972). The set test: a rapid test of mental function in old people. Age Ageing, 1(4), 222-226. doi:10.1093/age¬ing/1.4.222

Lee, H. S., & Kim, C. (2016). Structural equation modeling to assess discrimination, stress, social support, and depression among the elderly woman in South Korea. Asian Nursing Research, 10, 182-188.

Leal, M. C. C., Apostolo, J. L. A., Mendes, A. M. O. C., & Marques, A. P. O. (2014). Prevalence of depressive symptoms and associated factors among institutionalized elderly. Acta Paul Enferm, 27(3), 208-214.

Li, J., Theng, L. L., & Foo, S. (2015). Does psychological resilience mediate the impact of social support on geriatric depression? An exploratory study among Chinese older adults in Singapore. Asian Journal of Psychiatry, 14, 22-27.

Li, N., Chen, G., Zeng, P., Pang, J., Gong, H., Han, Y., et al. (2016). Prevalence of depression and its associated factors among Chinese elderly people: A comparison study between community-based population and hospitalized population. Psychiatry Research, 243, 87-91.

Li, N., Pang, L., Chen, G., Song, X., Zhang, J., & Zhang, X. (2011). Risk factors for Depression in older adults in Beijing. Canadian Journal of Psychiatry, 56(8), 466-473.

Lim, M. L., Lim, D., Gwee, X., Nyunt, M. S. Z., Kumarb, R., & Ng, T. P. (2015). Resilience, stressful life events, and depressive symptomatology among older Chinese adults. Aging & Mental Health, 19(11), 1005-1014.

Lu, C., Yuan, L., Lin, W., Zhou, Y., & Pan, S. (2017). Depression and resilience mediates the effect of family function on quality of life of the elderly. Archives of Gerontology and Geriatrics, 71, 34-42.

Mahoney, F. I., & Barthel, D. W. (1965). Functional evaluation: The Barthel Index. Maryland State Medical Journal, 14, 61-65.

Mehta, M., Lenze, E., Hardy, S., Roumani, Y., Subashan, P., Huang, W., et al. (2008). Depressive symptoms in late life: Associations with apathy, resilience and disability vary between young-old and old-old. International Journal of Geriatric Psychiatry, 23, 238-243.

Olagunju, A.T., Olutoki, M. O., Ogunnubi, O. P., & Adeyemi, J. D. (2015). Late-life depression: Burden, severity and relationship with social support dimensions in a West African community. Archives of Gerontology and Geriatrics, 61(2015), 240-246.

Schure, M. B., Odden, M., & Goins, R. T. (2013). The association of resilience with mental and physical health among older American Indians: The native elder care study. American Indian and Alaska Native Mental Health Research, 20(2), 27–41.

Sinha, S. P., Shrivastava, S. R., & Ramasamy, J. (2013). Depression in an older adult rural population in India. Meddic Review, 15(4), 41-44.

Tsai, Y. F., Yeh, S. H., & Tsai, H. H. (2005). Prevalence and risk factors for depressive symptoms among community-dwelling elders in Taiwan. International Journal of Geriatric Psychiatry, 20, 1097-1102.

Unalan, D., Gocer, S., Basturk, M., Baydur, H., & Ozturk, A. (2015). Coincidence of low social support and high depressive score on quality of life in elderly. European Geriatric Medicine, 6, 319-324.

Vanderhorst, R. K., & McLaren, S. (2005). Social relationship as predictors of depression and suicidal ideation in older adults. Aging and Mental Health, 9(6), 517-525.

Wada, T., Ishine, M., Sakagami, T., Kita, T., Okumiya, K., Mizuno, et al. (2005). Depression, activities of daily living, and quality of life of community-dwelling elderly in three Asian countries: Indonesia, Vietnam, and Japan. Archives of Gerontology and Geriatrics, 41, 271-280.

Wang, J., & Zhao, X. (2012). Family functioning and social support for older patients with depression in an urban area of Shanghai, China. Archives of Gerontology and Geriatrics, 55(3), 574-579.

Wongpakaran, T., Wongpakaran, N., & Ruktrakul, R. (2011). Reliability and validity of the Multidimentional Scale of Perceived Social Support (MSPSS): Thai version. Clinical Practice and Epidemiology in Mental Health, 7, 161-166.

World Health Organization. (2008). WHO global burden of disease: 2004 update. Retrieved February 2, 2016, from http.//www.who. int/healthinfo/gobal_burden_disease/ GBO_report_2004update_full.pdf

Zimet, G. D., Dahlem, N. W., Zimet, S. G., & Farley, G. K. (1998). The Multidimentional scale of perceived social support. Journal of Personality Assessment, 52(1), 30-41.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-08-28