ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อนต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของผู้ป่วยจิตเภท
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการเลิก สูบบุหรี่ของผู้ป่วยจิตเภทก่อนและหลังได้รับ โปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อน และเพื่อเปรียบ เทียบพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของผู้ป่วยจิตเภท ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการรับ รู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการนวดกดจุดสะท้อน กับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วย จิตเภทเพศชายจำนวน 40 ราย ที่มารับบริการแผนก ผู้ป่วยในโรงพยาบาลศรีธัญญา และผ่านเกณฑ์ คัดเข้า แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม โดยการจับคู่ ให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันด้วยคะแนนการติด นิโคติน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่ม ละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริม การรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการนวดกดจุด สะท้อนและกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตาม ปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1)โปรแกรม การส่งเสริมการรับรู้ สมรรถนะแห่ งตนร่ วมกับการ นวดกดจุดสะท้อน และ 2) แบบประเมินพฤติกรรม การเลิกสูบบุหรี่ เครื่องมือทั้งหมดได้ผ่านการตรวจ สอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน และแบบประเมินพฤติกรรมการเลิกสูบ บุหรี่ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85 วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติบรรยาย สถิติ Wilcoxon Signed Ranks test และ Mann-Whitney U test
ผลการศึกษา : 1. คะแนนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของ ผู้ป่วยจิตเภทหลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริม การรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการนวดกดจุด สะท้อนแตกต่างจากก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของ ผู้ป่วยจิตเภทที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการ รับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการนวดกดจุด สะท้อนและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ไม่แตกต่างกัน (p = .08)
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย
References
กัลยกร ฉัตรแก้ว. (2552). การดูแลเพื่อบรรเทา อาการไม่สุขสบายสำหรับผู้เลิกสูบบุหรี่. ใน กรองจิต วาทีสาธกกิจ, การส่งเสริมการ เลิกบุหรี่ในงานประจำ, (228-260). พิมพ์ ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่.
จิราภรณ์ เนียมกุญชร และสุนิดา ปรีชาวงษ์. (2550). ผลการประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมต่อพฤติกรรมการเลิก สูบบุหรี่ของผู้ป่วยใน แผนกอายุรกรรม. วารสารควบคุมยาสูบ, 1(1), 2-13.
ณันฑิยา คารมย์. (2555). ปัจจัยทำนายการเลิก สูบบุหรี่ในระยะสั้นในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขา พยาบาลศาสตร์, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ตรีชฎา บุญจันทร์. (2550). ปัจจัยทำนายการเลิก บุหรี่ในผู้ป่วยชาวไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัญชนก จิงา. (2546). ทัศนคติ และพฤติกรรมการ สูบบุหรี่ของผู้ป่วยในโรคจิตเภท ณ สถาบัน จิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นันท์ธิยาภรณ์ มะละศิลป์. (2555). ผลของการ ให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกร่วมกับการนวด กดจุดสะท้อนต่ออาการถอนนิโคตินและ พฤติกรรมการเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขา พยาบาลศาสตร์, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญศิริ จันศิริมงคล. (2552). เอกสารประกอบการ บรรยายเรื่องโรคร่วมในโรคติดสารเสพติด วันที่ 25-26 พฤษภาคม 2552. สุราษฎร์ธานี: โรงพยาบาลสวนสราญรมย์.
มธุรดา สุวรรณโพธิ์. ม.ป.ป. Dual diagnosis. เข้า ถึงเมื่อ 30 มีนาคม 2552, จาก http://www. thaifamilylink.net/mambo454/index.php
ลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐพงศ์นิชโรจน์. (2549). การบำบัดเสริมและการแพทย์ทางเลือกในการบำบัดทางการพยาบาล. วารสารพยาบาล ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 18 (3),1-7.
วีระ เนริกูล. (2558). ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาที่เน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ร่วมกับการออกกำลังกายต่อความรู้สึก อยากบุหรี่และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ติดบุหรี่. วิทยานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, คณะ พยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิราณี อิ่มน้ำข้าว. (2555). รูปแบบพฤติกรรมการ เลิกบุหรี่ของผู้สูบบุหรี่ที่เข้ารับการบำบัด ในคลินิกเลิกบุหรี่โรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารกองการพยาบาล, 39(3), 7-20.
ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง. (2560). พบผู้ป่วยจิตเภทสูบบุหรี่มากขึ้น บางส่วนสูบ 21-30 มวนต่อวัน. เข้าถึงเมื่อ 30 มีนาคม 2552, จาก https://www.tcijthai. com/news/2017/22/current/7357
สนทรรศ บุษราทิจ และอภิญญา สิริไพบูลย์กิจ. (2555). การศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเลิกบุหรี่ ได้สำเร็จของผู้ที่รับการรักษาที่คลินิกเลิก บุหรี่โรงพยาบาลศิริราช. วารสารสมาคม จิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(3), 305 - 312.
สัญชัย กุลาดี และปราโมทย์ สุคนิชย์. (2558). อาการและอาการแสดงทางจิตเวช. ใน: มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิ ชย์, บรรณาธิการ. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี พิมพ์ครั้งที่ 4 (หน้า 59-67). กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาลัยมหิดล.
สุทัศน์ รุ่งเรืองหิรัญญา. (2555). คู่มือการควบคุม ยาสูบ ฉบับผู้ปฏิบัติการ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). นครปฐม: สินทวีกิจ พริ้นติ้ง.
เอมหทัย ศรีจันทร์หล้า. (2556). ผลของโปรแกรม การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ต่อพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ของผู้ป่วย จิตเภท. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช, คณะพยาบาลศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bandura, A. (1997). Self-efficacy: Toword a unifying theory of behavioral change psychological. New York: Holt Rinehart and Winston.
Fagerström, K., Schneider, N., & Lunell, E. (1993). Effectiveness of nicotine patch and nicotine gum as individual versus com¬bined treatments for tobacco withdrawal symptoms. Psychopharmacology, 111(3), 271-277.
Forchuk, C., Norman, R., Malla, A., Vos, S., & Martin, M. L. (1997). Smoking and schizophrenia. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 4(5), 355-359.
Goff, D. C., Henderson, D. C., & Amico, E. (1992). Cigarette smoking in schizophre¬nia: relationship to psychopathology and medication side effects. American Journal of Psychiatry, 149(9), 1189-1194.
Hatsukami, D. K., Stead, L. F., & Gupta, P. C. (2008). Tobacco addiction. The Lancet, 371(9629), 2027-2038.
Heishman, S. J., Singleton, E. G., & Moolchan, E. T. (2003). Tobacco Craving Question¬naire: Reliability and validity of a new multifactorial instrument. Nicotine & Tobacco Research, 5(5), 645-654.
Hughes, J. R. (1993). Possible effects of smoke-free inpatient units on psychiatric diagnosis and treatment. The Journal of Clinical Psychiatry, 54(3), 109-114.
Jetiyanuwatr, C. (2001). Factors associated with smoking cessation of public health officials in Kanchanaburi province. Mas¬ter's thesis, Faculty Science, Mahidol University.
Kumari, V., & Postma, P. (2005). Nicotine use in schizophrenia: the self medication hypotheses. Neuroscience & Biobehavioral Reviews, 29(6), 1021-1034.
Mann-Wrobel, M. C., Bennett, M. E., Weiner, E. E., Buchanan, R. W., & Ball, M. P. (2011).Smoking history and motivation to quit in smokers with schizophrenia in a smoking cessation program. Schizophrenia research, 126(1), 277-283.
McCreadie, R. G., & Kelly, C. (2000). Patients with schizophrenia who smoke: Private disaster, public resource: Private disaster, public resource. The British Journal of Psychiatry, 176(2), 109-109.
National Center for Complementary therapy and Alternative Medicine. (2007). Consider¬ations for NCCAM Clinical Trail Grant Applications. Retrieved January 17, 2007, from http://nccam.nih.gov/research/poli¬cies/clinical-considerations.htm#skipnav. Acessed
Overall, J. E., & Gorham, D. R. (1962). The brief psychiatric rating scale. Psychological re¬ports, 10(3), 799-812.
Piper, M. E., McCarthy, D. E., & Baker, T. B. (2006). Assessing tobacco dependence: a guide to measure evaluation and selection. Nicotine & Tobacco Research, 8(3), 339-351.
Pongsri, S. (2009). Guidelines for professional nurses in smoking cessation therapy. (2nd ed.). Bangkok: Manassas Film Partnership.
Rice, J. A. (2006). Mathematical statistics and data analysis. Boston, MA. : Cengage Learning.
Shaw, D., & Al'Absi, M. (2008). Attenuated beta endorphin response to acute stress is associated with smoking relapse. Pharma¬cology Biochemistry and Behavior, 90(3), 357-362.
Tsoi, D. T., Porwal, M., & Webster, A. C. (2013). Interventions for smoking cessation and reduction in individuals with schizophrenia. Cochrane Database Systematic Review, 2, Cd007253.
Velicer, W. F., DiClemente, C. C., Rossi, J. S., & Prochaska, J. O. (1990). Relapse situations and self-efficacy: An integrative model. Addictive behaviors, 15(3), 271-283.
Williams, J. M., & Foulds, J. (2007). Successful tobacco dependence treatment in schizo¬phrenia. American Journal of Psychiatry, 164(2), 222-227.
Zhang, X. Y., Liang, J., Xiu, M. H., He, J., Cheng, W., Wu, Z., et al. (2012). Cigarette smoking in male patients with chronic schizophrenia in a Chinese population: Prevalence and relationship to clinical phenotypes. PLoS One, 7(2), e30937.
Ziedonis, D. M., & George, T. P. (1997). Schizo¬phrenia and nicotine use: Report of a pilot smoking cessation program and review of neurobiological and clinical issues. Schizophrenia Bulletin, 23(2), 247.