บทบาทพยาบาลในการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้
คำสำคัญ:
บทบาทพยาบาล, การชะลอไตเสื่อม, โรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้บทคัดย่อ
ภาวะไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ เป็นภาวะที่มีระดับน้ำตาลกลูโคสในร่างกายสูง และไปทำลายหลอดเลือดฝอยในเนื้อไต ปริมาณเลือดไปเลี้ยงไตลดลงทำให้อัตราการกรองของไตลดลง ปัจจัยเสี่ยงของภาวะไตเสื่อม ได้แก่ ระดับน้ำตาลที่ควบคุมไม่ได้ ความดันโลหิตสูง ระยะเวลาในการเป็นโรคเบาหวาน การรับประทานอาหารไม่เหมาะสม การใช้ยาไม่ถูกต้อง การสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะอ้วน และการไม่ออกกำลังกาย พยาบาลมีบทบาทสำคัญที่จะช่วยชะลอไตเสื่อมโดยการค้นหาปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก คัดกรองและให้ความรู้เกี่ยวกับโรค การป้องกันและการรักษา ส่งเสริมให้ผู้ป่วยและครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สามารถป้องกันการเกิดภาวะไตเสื่อมจากโรคเบาหวานได้ นำไปสู่ผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีขึ้น ลดการบำบัดทดแทนไต ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยและครอบครัวต่อไป
References
Anastasi JK, Klug C. Diabetic peripheral neuropathy: Person-centered care. Nursing 2021;51(4):34-40.
สำนักข่าว Hfocus. โรคเบาหวานในวัยรุ่น [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 2562 พ.ค. 18]. เข้าถึงได้จาก: https://www.hfocus.org/content/2019/11/18031
Sloan G, Shillo P, Selvarajah D, Wu J, Wilkinson ID, Tracey I, et al. A new look at painful diabetic neuropathy. Diabetes Res Clin Pract 2018;144:177–91. doi: 10.1016/j.diabres.2018.08.020.
Ibrahim, W. K., & Miky, S. F. Diabetes Self-management Education Program among Patients at Risk for Diabetic Nephropathy. International Journal of Novel Research in Healthcare and Nursing. 2019; 6(3): 383-95.
Liu WJ, Huang WF, Ye L, Chen RH, Yang C, Wu HL, et al. The activity and role of autophagy in the pathogenesis of diabetic nephropathy. Eur Rev Med Pharmacol Sci. 2018;22(10):3182-89.
ศิริลักษณ์ ถุงทอง. การชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้. วารสารพยาบาลทหารบก 2560;18(พิเศษ):17-24.
Jiang N, Huang F, Zhang X. Smoking and the risk of diabetic nephropathy in patients with type 1 and type 2 diabetes: a meta-analysis of observational studies. Oncotarget 2017;8(54):93209-18.
Stroescu AEB, Tanasescu MD, Diaconescu A, Raducu L, Balan DG, Mihai A, et al. Diabetic nephropathy: A concise assessment of the causes, risk factors and implications in diabetic patients. Revista de Chimie 2018;69(11):4018-21.
Liang S, Cai GY, Chen XM. Clinical and pathological factors associated with progression of diabetic nephropathy. Nephrology 2017;22:14-9.
นุสรา วิโรจนกูฎ. ผลของโปรกแกรมการพัฒนาความรู้ การจัดการตนเองและการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลต่อระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือดและการชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11 2560;31(1):41-8.
Alpers CE, Hudkins KL. Pathology identifies glomerular treatment targets in diabetic nephropathy. Kidney research and clinical practice 2018;37(2):106–11.
ทวี ศิลารักษ์, ลัฆวี ปิยะบัณฑิตกุล, วิริณธิ์ กิตติพิชัย. ปัจจัยทำนายการเกิดโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคเบาหวานในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2563:40(2):109-21.
อัจฉรา เจริญพิริยะ, อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว, งามจิต คงทน. ความชุกโรคไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช. Region 11 Medical Journal 2559;31(1):73-82.
Selby NM, Taal MW. An updated overview of diabetic nephropathy: Diagnosis, prognosis, treatment goals and latest guidelines. Diabetes, Obesity and Metabolism 2020;22:3-15.
สิทธิ์ ภคไพบูลย์. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนทางไตจากโรคเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่โรงพยาบาลปางศิลาทอง จังหวัดกำแพงเพชร. Journal of The Department of Medical Services 2563;45(2):12-8.
บัวหลัน หินแก้ว. บทบาทพยาบาลในการชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน. Thai Red Cross Nursing Journal 2561;11(1):38-46.
นารีรัตน์ พุ่มสลุด, บัญชา สถิระพจน์. การติดตามการลดลงของอัตราการกรองของไตระยะยาวในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. Royal Thai Army Medical Journal 2563;69(4):159-66.
เกตุแก้ว จันทร์จำรัส. การสำรวจความชุกและปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่ไตในโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า. [วิทยานิพนธ์หลักสูตรเทคนิคการแพทยมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2558.
Umanath K, Lewis JB. Update on diabetic nephropathy: core curriculum 2018. American Journal of Kidney Diseases 2018;71(6):884-95.
บัญชา สถิรพจน์. Diagnosis and Management of Diabetic Nephropathy. เวชสารแพทย์ทหารบก 2563;73(3):199-210.
Sulaiman MK. Diabetic nephropathy: recent advances in pathophysiology and challenges in dietary management. Diabetology & metabolic syndrome 2019;11(1):1-5.
สุรัสวดี พนมแก่น, ปราณี แสดคง, สมใจ เจียระพงษ์, จรรยา คนใหญ่. บทบาทพยาบาลในการป้องกันโรคไตในผู้ป่วยโรคเบาหวาน. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2563;34(4):14-8.
สิรินดา ศรีจงใจ, ชินตา เตชะวิจิตรจารุ, สุจินตนา พันธ์กล้า, วารี วณิชปัญจพล. บทบาทพยาบาลในการชะลอโรคไตเรื้อรังของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการพยาบาลและสาธารณสุข 2563;14(3):1-9.
จันจิรา หินขาว, ขนิษฐา หาญประสิทธิ์คำ, สุนทรี เจียรวิทยกิจ. ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจเพื่อชะลอไตเสื่อมจากเบาหวานต่อ พฤติกรรมการจัดการตนเองและผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีความเสื่อมของไตระยะที่ 3. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี 2562;30(2):185-202.
รสสุคนธ์ วาริทสกุล. การจัดการอาหารเพื่อชะลอความเสื่อมของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจากเบาหวาน. วารสารพยาบาลทหารบก 2557;15(1):22-9.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9