บทบาทพยาบาลในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

ผู้แต่ง

  • กันติชา ธนูทอง โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
  • ธีรนุช ยินดีสุข สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • ปาริฉัตร์ บรรเทือง โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
  • สุเพียร โภคทิพย์ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
  • สุธัญทิพ จารุวัชรีวงศ์ สาขาการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม, ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง, การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ระบาดและแพร่กระจายไปทั่วโลก โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว เช่น ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง จะส่งผลให้การทำหน้าที่ของไตลดลงและเสื่อมได้เร็วขึ้น ผู้ป่วยที่ใช้ยากดภูมิคุ้มกัน ผู้ป่วยเหล่านี้มักจะมีอาการรุนแรงหรือเสียชีวิตได้หากมีการติดเชื้อ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคร่วมต่างๆ ต้องได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่หน่วยไตเทียม 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ทำให้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ และการแพร่กระจายของเชื้อได้ พยาบาลจึงมีบทบาทสำคัญในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมี 3 บทบาทที่สำคัญดังนี้ 1) บทบาทพยาบาลในการค้นหาและการคัดกรอง 2) บทบาทพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำหรับบุคลากรและผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และ 3) บทบาทพยาบาลในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

Author Biographies

กันติชา ธนูทอง, โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ธีรนุช ยินดีสุข, สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

อาจารย์พยาบาล

ปาริฉัตร์ บรรเทือง, โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

สุเพียร โภคทิพย์, โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

สุธัญทิพ จารุวัชรีวงศ์, สาขาการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี

อาจารย์พยาบาล

References

ศูนย์บริหารสถานการณ์ โควิด-19 [อินเทอร์เน็ต]. มปป. [เข้าถึงเมื่อ 2564 ธันวาคม 20]: เข้าถึงได้จาก: https://www.moicovid.com/

Guo YR, Cao QD, Hong ZS, Tan YY, Chen SD, Jin HJ, et al. The origin, transmission and clinical therapies on coronavirus disease 2019 (covid-19) outbreak: An update on the status. Military Med Res [Internet]. 2020 [cited 2021 July 21);7(1):11,

Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7068984/

แพทย์โรคติดเชื้อและระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล [อินเทอร์เน็ต]. มปป. [เข้าถึงเมื่อ 2564 ธันวาคม 16]. เข้าถึงได้จาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/issue037/vocab-rama

วีระยุทธ หุมอาจ. การรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีภาวะไตวายเฉียบพลัน: กรณีศึกษา. วาสารสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น 2564;3(1):149-63.

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยและสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย. แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต โดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมในผู้ป่วยโควิด-19 [อินเทอร์เน็ต]. มปป. [เข้าถึงเมื่อ 2564 ธันวาคม 23]: เข้าถึงได้จาก: https://www.nephrothai.org/wp-content/uploads/2021/04/NST_COVID-19_09-04-21.pdf

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 สำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. มปป. [เข้าถึงเมื่อ 2565 กุมภาพันธ์ 12]: เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1150920210610033910.pdf

Long JD, Strohbehn I, Bhatiacharyya R, Sise ME. Covid-19 Survival and its impact on chronic Kidney disease. American Psychological association 2021;4:70-82.

สถิติเวชระเบียนโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์. ยอดสถิติผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. 2564.

ณัฐวรรณ คำแสน. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ของประชาชนในเขตอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี 2564;4(1):33-48.

นภชา สิงห์วีรธรรม และคณะ. การรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของทันตาภิบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารสถาบันบำราศนราดูร 2563;14(2):104-15.

วณิชา พึ่งชมภู. การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการฟอกเลือด. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2559.

พิชญา ประจันพาณิชย์. การศึกษาผลการผ่าตัดปลูกถ่ายไตจากผู้บริจาคสมองตาย และผลแทรกซ้อนหลังการผ่าตัดในโรงพยาบาลอุดรธานี. วารสารการแพทย์ โรงพยาบาลอุดรธานี 2563;28(2):212-9.

Li J, Li SX, Zhao LF, Kong DL, Guo ZY. Management recommendations for patients with chronic kidney disease during the novel coronavirus disease 2019 (COVID-19) epidemic. Chronic Dis Transl Med 2020;6(2):119–23.

Naicker S, Yang CH, Hwang SJ, Liu BC, Chen JH, Jha V. The novel Coronavirus 2019 epidemic and kidneys. Kidney international 2020.;97: 824–8.

ชัชวาล วงค์สารี. บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วารสารเกื้อการุณย์ 2558;22(2):30-40.

อุ่นเรือน กลิ่นขจร, สุพรรษา วรมาลี, สุวัชลี ยาใจ. บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19): กรณีศึกษา. วารสารแพทย์นาวี 2563;47(3):703-21.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-15