ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดและความวิตกกังวล ในเจ้าหน้าที่หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ (CDCU) พื้นที่ระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
โรคไวรัสโคโรนา 2019, เจ้าหน้าที่หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ, ความเครียด, ความวิตกกังวลบทคัดย่อ
ผลการวิจัยพบว่าความชุกของความเครียด และความวิตกกังวลของเจ้าหน้าที่หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ อยู่ในระดับสูงมากถึง ร้อยละ 10.7 และ 29.0 ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียด พบว่าการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ 6 ชม. ต่อวันขึ้นไป จะป้องกันความเครียดสูงได้ ร้อยละ 80.5 ความรู้สึกเบื่อ/เซ็งเป็นบางครั้ง บ่อยครั้ง/ประจำ จะมีโอกาสเกิดความเครียดสูงเป็น 5.064 และ 79.705 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับเจ้าหน้าที่หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อที่แทบไม่มีความรู้สึกเบื่อ/เซ็ง และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวล พบว่า เพศของเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ มีโอกาสเกิดความวิตกกังวลสูงเป็น 2.479 เท่า (95%CI ORadj: 1.035-5.934) เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้มากที่สุด คือ Facebook และ Line จะมีโอกาสเกิดความวิตกกังวลเป็น 5.274 เท่า (95%CI ORadj: 1.765-15.759) และการมีความรู้สึกเบื่อเซ็งเป็นบางครั้ง บ่อยครั้ง/ประจำ จะมีโอกาสเกิดความวิตกกังวลสูงเป็น 8.157 เท่า (95%CI ORadj:2.532-26.27) และ 10.905 เท่า (95%CI ORadj: 1.063-111.889) รวมถึงไม่อยากพบปะผู้คนเป็นบางครั้ง/บ่อยครั้ง จะมีโอกาสเกิดความวิตกกังวลสูงเป็น 8.930 เท่า (95%CI ORadj: 2.001-39.847) ทั้งนี้ควรทำการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การประเมินความเครียด ความวิตกกังวลของบุคลากรสะท้อนความเป็นจริงตลอดช่วงเวลา และควรศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่อาจมีความสัมพันธ์กับความเครียดและความวิตกกังวล 8.157 (95%CI ORadj: 2.532-26.276) และ 10.905 เท่า (95%CI ORadj: 1.063-111.889)
References
กรมควบคุมโรค. แนวทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับพื้นที่ ประจำปี 2564 ภายใต้แผนพัฒนาด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561- 2580). นนทบุรี: กระทรวงสาธารสุข; 2564.
กรมสุขภาพจิต. คู่มือการปฏิบัติงานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจทุกระดับ ผู้ประสบภาวะวิกฤตในกรณีการ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). นนทบุรี: กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข; 2563.
อธิบ ตันอารีย. การดูแลจิตใจบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข.คู่มือ COVID-19 [อินเทอร์เน็ต]. (2563). [เข้าถึงเมื่อ 2563 มิ.ย. 15]; เข้าถึงได้จาก: http://www.mhso.dmh.go.th/page/subject_details.php?subject_id=201.
นิตยา เพ็ญศิรินภา. ภาวะเหนื่อยล้าจากงานของบุคลากรสุขภาพในช่วงโรคโควิด-19 ระบาด. วารสาร
สภาการสาธารณสุขชุมชน. 2564;3(3):1-16.
เอกลักษณ์ แสงศิริรักษ์, สิริรัตน์ แสงศิริรักษ์. ความเครียดและอารมณ์เศร้าของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2563;65(4):400-8.
Frasca F, Scordio M, Santinelli L, Gabriele L, Gandini O, Criniti A, Pierangeli A, Angeloni A, Mastroianni CM, d'Ettorre G, Viscidi RP, Antonelli G, Scagnolari C. Anti-IFN-α/-ω neutralizing antibodies from COVID-19 patients correlate with downregulation of IFN response and laboratory biomarkers of disease severity. Eur J Immunol. 2022 Jul;52(7):1120-1128. doi: 10.1002/eji.202249824.
บัญชา จันสิน. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดและภาวะซึมเศร้า ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ โคโรนาไวรัส 2019 ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในอำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์. 2565;37(2):465-76.
Wang H, Liu Y, Hu K, Zhang M, Du M, Huang H, Yue X. Healthcare workers' stress when caring for COVID-19 patients: An altruistic perspective. Nurs Ethics. 2020 Nov;27(7):1490-1500. doi: 10.1177/0969733020934146. Epub 2020 Jul 14. PMID: 32662326.
คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. Rama Mental [อินเทอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 2564 มิ.ย. 17]. เข้าถึงได้ จาก: https://www.rama.mahidol.ac.th
นิตยา จรัสแสง, ธารินี เพชรรัตน์, จงกล พลตรี, ปิยธิดา คูหิรัญญรัตน์, แพรว โคตรุฉิน, วิจิตรา พิมพ์พะนิตย์ และคณะ. ความเครียด ความวิตกกังวล ของพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลที่ปฏิบัติงานพื้นที่กลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงพยาบาลศรีนครินทร์. ศรีนครินทร์เวชสาร. 2565;37(2):154-61.
Kennedy K. Positive and negative effects of social media on adolescent well-being. [Master of Science in School Health]. Mankato, MN: Minnesota State University; 2019.
จารุวรรณ ประภาสอน. ความเครียดและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในการปฏิบัติงานของบุคลากรโรงพยาบาลแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์ ในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2564;15:469-85.
Kilic O, Kalcioglu MT, Cag Y, Tuysuz O, Pektas E, Caskurlu H, Cetın F. Could sudden sensorineural hearing loss be the sole manifestation of COVID-19? An investigation into SARS-COV-2 in the etiology of sudden sensorineural hearing loss. Int J Infect Dis. 2020 Aug;97:208-211. doi: 10.1016/j.ijid.2020.06.023.
ประภัสสร ตันติปัญจพร, คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการกินยาอย่างสม่ำเสมอในผู้ป่วยวัยรุ่นที่เป็นโรคสมาธิสั้น. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2559; 61(2):131-44.
พรทิพย์ ศรีโสภิต. รู้จัก โรคแพนิค มีสาเหตุมาจากอะไร รักษาอย่างไร [อินเตอร์เน็ต]. 2564. [เข้าถึงเมื่อ 2563 ม.ค. 26]. เข้าถึงได้จาก: https://www.tnnthailand.com/news/social/93659.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9