การแพทย์แผนไทย: การประยุกต์ใช้ในการดูแลสตรีตั้งครรภ์
คำสำคัญ:
การแพทย์แผนไทย, การประยุกต์ใช้, สตรีตั้งครรภ์บทคัดย่อ
การแพทย์แผนไทยมีความสอดคล้องกับแนวคิดสุขภาพแบบองค์รวม ในด้านปรัชญา ความรู้ และวิถีปฏิบัติ สิ่งที่โดดเด่นของภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยในการดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ คือ การดูแลชีวิตสตรีตั้งครรภ์ครบทุกมิติ ทั้งด้านกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ดำรงชีวิตอย่างสมดุล การดูแล ผ่านคำสอนที่อิงพระพุทธศาสนา ร่วมกับการนวดไทย การประคบสมุนไพรไทย การรับประทานอาหาร และยาสมุนไพร และการฝึกฤาษีดัดตน ซึ่งองค์ความรู้ของการแพทย์แผนไทยทั้งหมด สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในสตรีตั้งครรภ์ควบคู่กับการแพทย์แผนปัจจุบัน เพื่อให้การดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์มีคุณภาพและมีสันติสุข
บทความนี้มีวัตถุประสงค์นําเสนอแนวคิดการแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนไทยที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ และแนวทางในการประยุกต์ใช้การแพทย์แผนไทยเพื่อดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ ซึ่งการบูรณาการการแพทย์แผนไทยกับการแพทย์แผนปัจจุบันในการดูแลสุขภาพสตรีตั้งครรภ์ ต้องแสวงจุดร่วมและสงวนจุดต่าง เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับสิ่งดีที่สุดจากองค์ความรู้ของทั้งการแพทย์แผนปัจจุบันและการแพทย์แผนไทย ซึ่งนับว่าการแพทย์แผนไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่ควรค่าให้พยาบาลผดุงครรภ์ศึกษา
References
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร์ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระยะ 5 ปี (พ.ศ 2560–2564). นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข; 2564.
นรินทร์ทร พันธ์สวัสดิ์, ลัดดาวัลย์ ชูทอง. ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคกับธาตุในร่างกายตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย. ปทุมธานี: วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย; 2561.
เยาวเรศ สมทรัพย์. ศาสตร์ทางเลือกในการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์. สงขลา: บี เอส เอส ดิจิทัลออฟเซท; 2553.
เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ, ประวัติ วิวัฒนาการ และการประยุกต์ใช้การแพทย์แผนไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาตำราแพทย์แผนไทย มูลนิธิพัฒนาการแพทย์แผนไทยพัฒนา; 2550.
หน่วยแพทย์ทางเลือก, คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. การแพทย์แผนไทยประยุกต์: Applied Thai Traditional Medicine [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 2566 กุมภาพันธ์ 20]. เข้าถึงได้จาก: https://www.rama.mahidol.ac.th/altern_med/th/thai_traditional_medicine
Murray S, McKinney E, Holub KS, Jones R. Foundations of maternal-newborn and women’s health nursing. St. Louis: Elsevier; 2019.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ (พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพฯ: ธรรมสภา; 2556.
จุฑามาศ แซ่ลิ้ม, กิตติ ตันไทย, สดใส ขันติวรพงศ์, จักรกริช อนันตศรัณย์. การใช้แพทย์แผนไทยร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบันในการดูแลครรภ์ กรณีศึกษาหมู่บ้านท่าโต อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการ. 2556: 22–30.
Pan WL, Chang CW, Chen SM, Gau M L. Assessing the effectiveness of mindfulness-based programs on mental health during pregnancy and early motherhood: A randomized controlled trial. BMC Preg Child. 2019; 19: 1–18.
Yang M, Jia G, Sun S, Ye C, Zhang R, Yu X. Effects of an online mindfulness intervention focusing on attention monitoring and acceptance in pregnant women: A randomized controlled trial. J. Midwifery Women Health. 2019; 64: 68–77.
Pan WL, Gau ML, Lee TY, Jou HJ, Liu CY, Wen TK. Mindfulness-based program on the psychological health of pregnant women. Women Birth. 2019; 32(1): e102–9.
กลุ่มงานพัฒนาวิชาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือประชาชนในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2552.
สถาบันการแพทย์แผนไทย. มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (รพ.สส.พท.). นนทบุรี: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2563.
Chaichan A, Pumdoung S. Effects of Thai traditional massage on onset and duration of first stage of labor: A randomized controlled trial. PRIJNR. 2021; 25(2): 285-97.
Sananpanichkul P, Sawadhichai C, Leaungsomnapa Y, Yapanya P. Possible role of court-type Thai traditional massage during parturition: A randomized controlled trial. Intern J Thera Massage Bodywork. 2019; 12(1): 23-8.
Dhippayom T, Kongkaew C, Chaiyakunapruk N, Dilokthornsakul P, Sruamsiri R, Saokaew S, et al. Clinical effects of Thai herbal compress: A systematic review and meta-analysis. Evid Based Complement Alternat Med. 2015: Article ID 942378; 1-14.
Hendee WR. Physics of thermal therapy, fundamentals, and clinical applications, USA: Taylor and Francis group; 2013.
ทวี เลาหพันธิ์, เอื้อพงศ์ จตุรธำรงค์, ชัชภาม จันทบุตร, เทียมจิต ทองลือ, ประมวล คําแก้ว, ประสพพร พันธ์เพ็ง และคณะ. การแทย์แผนไทยในคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล. ศุภวนิชการพิมพ์: กรุงเทพฯ; 2552.
สุภาวดี ตั้งจิตรเจริญ, พนิตสุภา เชื้อชั่ง, ฉวีวรรณ ใจวีระวัฒนา, อรรคเดช อ่อนสอาด, เอื้อมพร สุวรรณไตรย์, แม้นมาศ วรรณภูมิ, และคณะ. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลลดอาการปวดกล้ามเนื้อบ่าระหว่างประคบด้วยลูกประคบสมุนไพรสดกับลูกประคบสมุนไพรแห้ง: การศึกษาวิจัยแบบสุ่ม. เวชบันทึกศิริราช. 2565; 15(1): 22-30.
สร้อยเพชร วงศ์วาลย์, ศิริลักษณ์ จิตต์ระเบียบ, ธวัชชัย กมลธรรม. ผลของการนวดด้วยลูกประคบสมุนไพรความร้อนชื้นในมารดาครรภ์แรกหลังคลอดปกติ. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 2561; 14(1): 61-72.
Kam PCA, Barnett DWY, Douglas ID. Herbal medicines and pregnancy: A narrative review and anesthetic considerations. Anaesth Intensive Care Med. 2019; 47(3): 226-34.
คลินิกการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ศูนย์การแพทย์กาญจาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล. อาหารสำหรับมารดาตั้งครรภ์ ตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย. อินเทอร์เน็ต]. 2566 เข้าถึงเมื่อวันที่ 2566 กุมภาพันธ์ 19]. เข้าถึงได้จาก: https://www.gj.mahidol.ac.th/main/ttm/preg-food/
กนกวรรณ ประภากุล, พระครูโกศลปริยัติยานุกิจ, ธารา ชินะกาญจน์, สมชัย ชีวินศิริวัฒน์. การดูแลสุขภาพมารดาและทารกด้วยทฤษฎีการแพทย์แผนไทย. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 4: ความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนในยุคสังคมดิจิทัล. 2563: 31-8.
วัฒนา ชัยธวัช, ชลดา จัดประกอบ, บุณยพร ยี่มี. การวิเคราะห์สรรพคุณตัวยาจากตำรับยาสตรีด้วยวิธีการจัดกลุ่ม: กรณีศึกษา หมอกระจ่าง ยี่มี. วารสารวิทยาศาสตร์นครราชสีมา. 2565; 1(1): 40-53.
เกศริน มณีนูน, บดินทร์ ชาตะเวที, จอมขวัญ ดำคง, นัฐพล เคียนขัน, นงลักษณ์ กุลวรรัตต์. การศึกษาภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรรักษาโรคโลหิตระดูสตรีของหมอพื้นบ้านในจังหวัดกระบี่และสงขลา. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 2560; 22(3): 243-58.
สถาบันการแพทย์แผนไทย, ฤาษีดัดตน. [อินเทอร์เน็ต]. 2566 เข้าถึงเมื่อวันที่ 2566 กุมภาพันธ์ 19]. เข้าถึงได้จาก https://doi.org/10.1177/0310057X1984578
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก. ฤาษีดัดตน. กรุงเทพฯ: โพสต์พับลิชชิ่ง; 2556.
ชญาภากร พัฒนรัฐ, เทพประวิณ จันทร์แรง, อุเทน ลาพิงค์. การประยุกต์ใช้ท่าฤาษีดัดตนเพื่อการเจริญสติ. วารสารปรัชญาอาศรม. 2564; 3(2): 96-107.
วรรณพร สําราญพัฒน์, ยอดชาย บุญประกอบ, วิชัย อึ้งพินิจพงศ์, รุ่งทิพย์ พันธุเมธากุล. ผลทันทีของการฝึกฤาษีดัดตนแต่ละท่าต่อความยืดหยุ่นของหลัง. การประชุมบัณฑิตวิทยาลัยระดับชาติครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2552: 1367-73.
World Health Organization. WHO global report on traditional and complementary medicine 2019. World Health Organization, 2019.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9