การบริหารสมองตามทฤษฎีนิวโรบิคส์ เอ็กเซอร์ไซส์ เพื่อส่งเสริมความจำแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อย

ผู้แต่ง

  • วิยะการ แสงหัวช้าง, ปร.ด. (พยาบาลศาสตร์) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • กุลิสรา ขุนพินิจ, พย.ม (การพยาบาลผู้ใหญ่) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
  • กันยารัตน์ อุบลวรรณ, ปร.ด. (พยาบาลศาสตร์) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

การบริหารสมอง, ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย, นิวโรบิคส์เอ็กเซอร์ไซส์, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

ผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมักจะเริ่มจากการสูญเสียด้านความจำ หากผู้สูงอายุกลุ่มนี้ไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมจะทำให้ปัญหาเรื่องความจำทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตในที่สุด ผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีความเสี่ยงสูงที่จะพัฒนาไปสู่ภาวะสมองเสื่อมได้ ปัจจุบันมีวิธีการบริหารสมองหลากหลายรูปแบบเพื่อช่วยชะลอและป้องกันภาวะสมองเสื่อม การบริหารสมองแบบนิวโรบิคส์ เอ็กเซอร์ไซส์ เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่นิยมนำมาประยุกต์ใช้ในการกระตุ้นสมองเพื่อส่งเสริมให้สมองมีความแข็งแรงและมีความจำที่ดีขึ้น หลักการบริหารสมองแบบนิวโรบิคส์ เอ็กเซอร์ไซส์ เกิดจากการกระตุ้นให้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ การได้ยิน การมองเห็น การได้กลิ่น การลิ้มรส และการสัมผัส รวมไปถึงส่วนที่ 6 คือ อารมณ์ ให้มีการทำงานเชื่อมโยงกันมากขึ้น โดยใช้กิจกรรมในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุเป็นตัวช่วย เพียงแค่เปลี่ยนวิธีการหรือรูปแบบการดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันให้ต่างไปจากเดิมเท่านั้น

Author Biographies

วิยะการ แสงหัวช้าง, ปร.ด. (พยาบาลศาสตร์), วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

อาจารย์

กุลิสรา ขุนพินิจ, พย.ม (การพยาบาลผู้ใหญ่), วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

อาจารย์

กันยารัตน์ อุบลวรรณ, ปร.ด. (พยาบาลศาสตร์), วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

อาจารย์

References

World Health Organization. Ageing and health [Internet]. 2018 [cited 2023 Feb 10] Available from: https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/ageing-and-health

ปัณณฑัต บนขุนทด, กัลยา มั่นล้วน. ภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย: ก่อนป่วยด้วยสมองเสื่อม. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ สสอท. 2565;4(1):1-15.

Abd Razak MA, Ahmad NA, Chan YY, Mohamad Kasim N, Yusof M, Abdul Ghani MKA, Omar M, Abd Aziz FA, Jamaluddin R. Validity of screening tools for dementia and mild cognitive impairment among the elderly in primary health care: a systematic review. Public Health. 2019 Apr;169:84-92. doi: 10.1016/j.puhe.2019.01.001.

ชัชวาล วงศ์สารี. ผลกระทบการเกิดภาวะสมองเสื่อมต่อผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 2560;23(4):680-9.

วนษา สินจังหรีด, ภักศจีภรณ์ ขันทอง. เกมดิจิทัลสำหรับป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ. วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. 2565;21(1-2):22-35.

Alzheimer’s Association. Alzheimer’s Disease Facts and Figures, Alzheimer’s & Dementia [Internet]. 2011 [cited 2023 Feb 10] Available from: https://www.alz.org/national/documents/Facts_Figures_2011.pdf

Mayo Foundation for Medical Education and Research. Mild cognitive impairment (MCI) [Internet]. 2019. [cited 2023 Feb 10] Available from: https://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/mildcognitiveimpairment/symptoms-causes/syc-20354578

Griffiths J, Thaikruea L, Wongpakaran N, Munkhetvit P. Prevalence of Mild Cognitive Impairment in Rural Thai Older People, Associated Risk Factors and their Cognitive Characteristics. Dement Geriatr Cogn Dis Extra. 2020 Mar 26;10(1):38-45. doi: 10.1159/000506279.

จารุวรรณ ก้านศรี, นภัสสร ยอดทองดี, ศศิวิมล บูรณะเรข. ผลของโปรแกรมบริหารสมองตามทฤษฎีนิวโรบิคส์ เอ็กเซอร์ไซส์ ต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่มีความจำบกพร่องเล็กน้อย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ. 2561;34(3):65-76

วรากร เกรียงไกรศักดา, เสรี ชัดแช้ม. การประยุกต์ทฤษฎีนิวโรบิคส์ เอ็กเซอร์ไซส์ ในการพัฒนาโปรแกรมการฝึกสมองสำหรับฟื้นฟูความจำในผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อมระยะเริ่มต้น. วารสารวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา. 2555;10(1):11-25.

Kanthamalee S, Sripankaew K. Effect of neurobic exercise on memory enhancement in the elderly with dementia. Journal of Nursing Education and Practice. 2014 ;4(3):69-78.

Napatpittayatorn P, Kritpet T, Muangpaisan W, Srisawat C, Junnu S. Effects of neurobic exercise on cognitive function and serum brain-derived neurotrophic factor in the normal to mild cognitive impaired older people: A randomized control trial. Songklanakarin J Sci Technol. 2019;41(3):551-8.

Patani KA. Effect of Neurobic exercises on cognitive function related to Post–Stroke. Journal of Applied Dental and Medical Sciences. 2020;6(3):27-35.

Raj D, Santhi S, Sapharina GJS. Effectiveness of neurobic exercise program on memory and depression among elderly residing at old age home. J Complement Integr Med. 2020 Sep 17:/j/jcim.ahead-of-print/jcim-2019-0221/jcim-2019-0221.xml. doi: 10.1515/jcim-2019-0221.

Blatchford L, Cook J. Patient Perspectives about Mild Cognitive Impairment: A Systematic Review. Clin Gerontol. 2022 May-Jun;45(3):441-453. doi: 10.1080/07317115.2020.1805536.

Domínguez-Chávez CJ, Murrock CJ, Salazar-González BC. Mild cognitive impairment: A concept analysis. Nurs Forum. 2019 Jan;54(1):68-76. doi: 10.1111/nuf.12299.

ฐิตินันท์ ดวงจินา. การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย: การประยุกต์ทฤษฎีการตัดสินใจด้วยตนเอง. วารสารสภาการพยาบาล. 2565;37(1):5-18.

กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง. บทบาทพยาบาลในการคัดกรองและดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในชุมชน. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล. 2564;37(1):1-13.

จตุพร แพงจักร, ระพีพรรณ ชมแผน. การเพิ่มความจำและป้องกันโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยการบริหารสมองและดนตรีบำบัด. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2565;6(1):275-83.

Scotts J. Exercise for the Brain: 70 neurobic exercises to increase mental fitness & prevent memory loss: How non-routine actions and thoughts improve mental. Newark, DE: Speedy Publishing; 2013.

Katz L, Rubin M, Small G. Keep Your Brain Alive: 83 Neurobic Exercises to Help Prevent Memory Loss and Increase Mental Fitness. New York, NY: Workman Publishing; 1999.

Sanghuachang W, Hengudomsub P, Chaimongkol N, Kotchabhakdi N. Effectiveness of neurobic exercise program on memory performance in community-dwelling older adults with mild cognitive impairment: A randomized controlled crossover trial. Belitung Nursing Journal. 2023;9(2):100-9.

นัยพินิจ คชภักดี. พัฒนาการทางสมอง. นครปฐม: โครงการวิจัยชีววิทยาระบบประสาทสัมผัสและพฤติกรรม. สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม; 2551.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-07