บทบาทพยาบาลในการลำเลียงทางอากาศ: กรณีศึกษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ
คำสำคัญ:
การลำเลียงทางอากาศ, โรคหลอดเลือดหัวใจ, บทบาทพยาบาลบทคัดย่อ
โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นภาวะที่คุกคามต่อชีวิตและเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ จำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อช่วยชีวิต หรือการดูแลอวัยวะที่สำคัญ ในสถานที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมอย่างเร่งด่วน การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสมและทันท่วงที ทั้งนี้การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศอาจจะมีผลกระทบต่อผู้ป่วย ดังนั้นพยาบาลซึ่งเป็นสมาชิกทีมลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศจึงต้องมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเครียดหรือผลกระทบจากการบินที่จะส่งผลต่อร่างกายผู้ป่วย การประเมินสภาพผู้ป่วยก่อนการลำเลียงทางอากาศ และแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจที่สำคัญขณะลำเลียงทางอากาศ เพื่อให้การพยาบาลผู้ป่วยขณะลำเลียงทางอากาศได้อย่างเหมาะสม ลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนจากการลำเลียงทางอากาศที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย และให้การดูแลผู้ป่วย มีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐาน และมีความปลอดภัย
References
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. สถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพและการแพทย์ฉุกเฉิน (ระดับโลกและประเทศไทย). 2565 [เข้าถึงเมื่อ 2566 มิ.ย. 1]. เข้าถึงได้จาก: https://www.niems.go.th/1/UploadAttachFile/2022/EBook/414764_20220208161448.pdf
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. คู่มือแนวทางปฏิบัติการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินทางอากาศ. เชียงใหม่: เชียงใหม่พิมพ์นิยม; 2561.
สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. แนวเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ: เนคสเตป ดีไซน์; 2563
ศูนย์ลำเลียงทางอากาศสายแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองทัพอากาศ. สถิติการลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ ปีพ.ศ. 2565. กรุงเทพฯ: ศูนย์ลำเลียงทางอากาศสายแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองทัพอากาศ; 2565
เอกลักษณ์ ดีรุ่งโรจน์. การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ: การลำเลียงข้าราชการตำรวจที่เจ็บป่วยหรือได้รับบาดเจ็บจากการปฏิบัติหน้าที่ของกลุ่มงานศูนย์ส่งกลับและรถพยาบาล โรงพยาบาลตำรวจ. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2564;13(1):208-17.
สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองทัพอากาศ. การลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2562.
Dorlac WC, Mason PE, Dorlac GR. Preparation for long-distance aeromedical evacuation. In Hurd W, Beninati W. (eds.). Aeromedical Evacuation. Springer, Cham; 2019.
Hurd WW, Jernigan GJ. Aeromedical evacuation: management of acute and stabilized patients. New York: Springer; 2003.
บุณยอร ทีฆภิญญา. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือดระหว่างการลำเลียงทางอากาศ. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2557;6(2):263-74.
Holleran RS. ASTNA Patient transport principles and practice. 4th ed. USA: Elsevier; 2010.
Department of the Air Force E-Publishing. Aerospace Medicine En Route Care and Aeromedical Evacuation Medical Operations [Internet]. 2020 [cited 2023 Jul 1]. Available from: https://static.e-publishing.af.mil/production/1/af_sg/publicationdafi48-107v1/dafi48-107v1.pdf.
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน. ใน: วันดี โตสุขศรี และคณะ, บรรณาธิการ. การพยาบาลอายุรศาสตร์ 2 ฉบับปรับปรุง. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: หจก.เอ็นพีเพรส; 2561: 52-74 .
United Medical Education. ACLS Algorithms 2023 (Advanced Cardiac Life Support) Introduction: What is Advanced Cardiac Life Support (ACLS)? [Internet]. 2023 [cited 2023 Jul 1]. Available from: https://www.acls-pals-bls.com/algorithms/bls#CPRadults
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9