ผลลัพธ์ทางคลินิกหลังพัฒนาคุณภาพการดูแลเด็กโรคหืด ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของจังหวัดกระบี่
คำสำคัญ:
ผู้ป่วยเด็กโรคหืด, ผลลัพธ์ทางคลินิก, ระดับการควบคุมอาการโรคหืดบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลลัพธ์ทางคลินิกหลังพัฒนาคุณภาพการดูแลเด็กโรคหืดในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของจังหวัดกระบี่
วิธีการศึกษา: ศึกษาย้อนหลังในผู้ป่วยเด็กโรคหืดอายุ 1-14 ปีขึ้นไป ที่รักษาในคลินิกเด็กโรคหืด ระหว่าง 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2565 ข้อมูลผู้ป่วยถูกเก็บและแบ่งเป็นกลุ่มก่อนและกลุ่มหลังเข้ารับบริการ ติดตามผลการรักษาประเมินผลที่ 12 เดือน เปรียบเทียบอัตราระดับควบคุมอาการโรคหืดตาม GINA guideline และการมาพ่นยาที่ห้องฉุกเฉินและอัตราการนอนโรงพยาบาล นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้เครื่องมือทางสถิติ คือ Chi-square test
ผลการศึกษา: หลังพัฒนาคุณภาพการดูแลเด็กโรคหืด 12 เดือน พบอาการและอาการแสดงหืดในชีวิตประจำวันของผู้ป่วยลดลงจากอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ผู้ป่วยโรคหืดระดับ Uncontrolled มีจำนวนลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (จากร้อยละ 10.63 เป็นร้อยละ 3.13, p<0.001) การมาพ่นยาที่ห้องฉุกเฉินและอัตราการนอนโรงพยาบาลลดลงด้วยหอบลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05)
สรุปผลการศึกษา: การพัฒนาคุณภาพการดูแลเด็กโรคหืดช่วยลดอัตราการมาพ่นยาที่ห้องฉุกเฉินและการนอนโรงพยาบาลจากการจับหืด
References
Schifano ED, Hollenbach JP, Cloutier MM. Mismatch between asthma symptoms and spirometry: implications for managing asthma in children. J Pediatr. 2014 Nov;165(5):997-1002. doi: 10.1016/j.jpeds.2014.07.026.
ธีรพล ทิพย์พยอม. แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคหืด (Asthma) [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 2565 มิ.ย. 29]. เข้าถึงได้จาก: https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=512
ปกิต วิชยานนท์. แนวทางในการวินิจฉัยและรักษาโรคหืดในผู้ป่วยเด็กของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย; 2541.
เฌอร์นินทร์ ตั้งปฐมวงศ์, ศิราณี อิ่มน้ำขาว, สุจิมา ติลการยทรัพย์. การจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านเพื่อควบคุมการกำเริบของโรคหืดในเด็กก่อนวัยเรียน: บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 2563;7(10):71-84.
วัชรา บุญสวัสดิ์. โรคหืด. ใน: นิธิพัฒน์ เจียรกุล, บรรณาธิการ. ตำราโรคระบบการหายใจ. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์; 2561. หน้า 444-54.
Everhart RS, Kopel S, McQuaid EL, Salcedo L, York D, Potter C, Koinis-Mitchell D. Differences in Environmental Control and Asthma Outcomes Among Urban Latino, African American, and Non-Latino White Families. Pediatr Allergy Immunol Pulmonol. 2011 Sep;24(3):165-169. doi: 10.1089/ped.2011.0081.
สุภา หมดทุกข์. ประสิทธิผลการดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กโรคหืดตามแนวทาง Global Initiative for Asthma (GINA) ในโรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์. สวรรค์ประชารักษ์เวชสาร. 2560;14(1):37-49.
สายพิณ ฤทธิโคตร. ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยเด็กโรคหืดของโรงพยาบาลมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. 2564;18(1):164-77.
Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement. 1970;30(3):607-10.
สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบำบัดวิกฤตในเด็ก, สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย, สมาคมโรคภูมิแพ้ โรคหืด และวิทยาภูมิคุเมกันแห่งประเทศไทย. แนวทางการวินิจฉัย และรักษาโรคหืดในประเทศไทยสำหรับผู้ป่วยเด็ก (ฉบับสมบูรณ์) พ.ศ. 2564 [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 2565 ก.ค. 2]. เข้าถึงได้จาก: https://www.allergy.or.th/2016/pdf/2021/Final-Thai-Pediatric-Asthma-Guideline-2021_AAIAT-TPRC_Full_Version_24Jun2022.pdf
คณะกรรมการปรับปรุงแนวทางการรักษาและป้องกันโรคหืดในประเทศไทย สำหรับผู้ป่วยเด็ก. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทยสำหรับผู้ป่วยเด็ก พ.ศ. 2555. ใน: อภิชาต คณิตทรัพย์, มุกดา หวังวีรวงศ์, บรรณาธิการ. แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทย สำหรับผู้ใหญ่และเด็ก พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ: ยูเนียนอุลตราไวโอเร็ต; 2555. หน้า 97-159.
Global Initiative for Asthma. Global Strategy for Asthma Management and Prevention Updated 2019 [Internet]. 2019 [cited 2022 Jun 29]. Available from: https://ginasthma.org/wp-content/uploads/2019/06/GINA-2019-main-report-June-2019-wms.pdf
Global Initiative for Asthma. Global Strategy for Asthma Management and Prevention Updated 2020 [Internet]. 2020 [cited 2022 Jun 29]. Available from: https://ginasthma.org/wp-content/uploads/2020/04/GINA-2020-full-report_-final-_wms.pdf
อัญชลี จันทร์สว่างภูวนะ. ผลสัมฤทธิ์การรักษาหอบหืดในเด็ก ณ โรงพยาบาลบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2559;25(5):846-53.
ดนัย พิทักษ์อรรณพ, บังอร ม่วงไทยงาม. การพัฒนาระบบบริการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหืดที่มารับการรักษา ที่คลินิกโรคหืดแบบบูรณาการ โรงพยาบาลสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2561;27(5):856-65.
อรวรรณ จิรชาญชัย. ผลการรักษาเด็กโรคหืดก่อนและหลังเข้าคลินิกโรคหืดอย่างง่ายโรงพยาบาลเพชรบูรณ์ พ.ศ. 2558. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11. 2560;31(2):280-5.
วาสนา อชิรเสนา. ประสิทธิผลของการรักษาเด็กโรคหืดในคลินิกเด็กโรคหืดโรงพยาบาลชุมชน กรณีศึกษา: โรงพยาบาลนาหม่อม จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการปองกันควบคุมโรค สคร.2 พิษณุโลก. 2562;6(2):1-14.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ประกฎในวารสารศูนย์อนามัยที่ 9 เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ และศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา (เจ้าของ) ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย ผู้เขียนต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง
ผลการพิจารณาของกองบรรณาธิการและผู้ทรงคุณวุฒิถือเป็นที่สิ้นสุด คณะบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจแก้ไขข้อความให้ถูกต้องตามหลักภาษาและมีความเหมาะสม
กองบรรณาธิการวารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์มิให้นำเนื้อหาใด ๆ ของบทความ หรือข้อคิดเห็นใด ๆ ของผลการประเมินบทความในวารสารฯ ไปเผยแพร่ก่อนได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศูนย์อนามัยที่ 9