การใช้ยาระงับปวดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
คำสำคัญ:
อาการปวด, ยาระงับปวด, ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังบทคัดย่อ
อาการปวดเป็นหนึ่งในปัญหาที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง อีกทั้งการจัดการกับความปวดยังมีข้อจำกัดจากการทำงานของไตที่ลดลง ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเภสัชจลนศาสตร์ และเภสัชพลศาสตร์ของยาระงับปวด ส่งผลให้ความปวดของผู้ป่วยไม่ได้รับการบรรเทา ก่อให้เกิดปัญหาเรื้อรัง อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการสะสมของยาระงับปวด หรือปัญหาอื่น ๆ เพิ่มขึ้นได้ การเลือกใช้ยาระงับปวดอย่างเหมาะสม ทั้งชนิด ขนาดยา การติดตามอาการและการปรับเพิ่มหรือลดยาจึงเป็นสิ่งสำคัญ และมีส่วนช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดียิ่งขึ้น กลุ่มยาระงับปวดที่ใช้ ได้แก่ ยาระงับปวดกลุ่มที่ไม่ใช่โอปิออยด์ ยาระงับปวดกลุ่มโอปิออยด์ และยา กลุ่มอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์เสริมการระงับปวด การจะเลือกใช้ยาระงับปวดกลุ่มใด ควรพิจารณาจากชนิดของความปวด ระดับความรุนแรง ความเรื้อรังของอาการปวด เป้าหมายในการรักษา รวมทั้งการปรับขนาดยาตามการทำงานของไต เพื่อให้การใช้ยาระงับปวดเป็นไปอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
References
Pham PC, Khaing K, Sievers TM, Pham PM, Miller JM, Pham SV, et al. 2017 update on pain management in patients with chronic kidney disease. Clin Kidney J. 2017;10(5):688-97.
Koncicki HM, Unruh M, Schell JO. Pain management in CKD: a guide for nephrology providers. Am J Kidney Dis. 2017;69(3):451-60.
Davison SN. Pain in hemodialysis patients: prevalence, cause, severity, and management. Am J Kidney Dis. 2003;42(6):1239-47.
Pham PC, Toscano E, Pham PM, Pham PA, Pham SV, Pham PT. Pain management in patients with chronic kidney disease. NDT Plus. 2009;2(2):111-8.
Salisbury EM, Game DS, Al-Shakarchi I, Chan M, Fishman L, Tookman L, et al. Changing practice to improve pain control for renal patients. Postgrad Med J. 2009;85(999):30-3.
Vanderah TW. Pathophysiology of pain. Med Clin North Am. 2007;91(1):1-12.
Herndon CM RJ, M. Kominek C. Pain management. In: DiPiro JT, Yee GC, Posey L, Haines ST, Nolin TD, Ellingrod V. eds. Pharmacotherapy: a pathophysiologic approach, 11th edition. New York: McGraw-Hill; 2020. [internet]. [cited 2021 May 13]. Available from: https://accesspharmacy.mhmedical.com/content.aspx?bookid=2577§ionid=226724502.
Colloca L, Ludman T, Bouhassira D, Baron R, Dickenson AH, Yarnitsky D, et al. Neuropathic pain. Nat Rev Dis Primers. 2017;3:17002.
Lowe KM, Robinson DR, Jr. Pain management for patients with chronic kidney disease in the primary care setting. Nurse Pract. 2020;45(1):18-26.
Davison SN. Clinical pharmacology considerations in pain management in patients with advanced kidney failure. Clin J Am Soc Nephrol. 2019;14(6):917-31.
สมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติภาวะปวดเหตุพยาธิสภาพประสาท. 1st edition. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์; 2551.
Barakzoy AS, Moss AH. Efficacy of the World Health Organization analgesic ladder to treat pain in end-stage renal disease. J Am Soc Nephrol. 2006;17(11):3198-203.
Amar PJ, Schiff ER. Acetaminophen safety and hepatotoxicity--where do we go from here? Expert Opin Drug Saf. 2007;6(4):341-55.
U.S. Food and Drug Administration. FDA drug safety communication: prescription acetaminophen products to be limited to 325 mg per dosage unit; Boxed warning will highlight potential for severe liver fai–lure. 2011 [updated 2018 July 2]. [cited 2021 May 10]. Available from: https://www.fda.gov/drugs/drug-safety-and-availability/fda-drug-safety-communication-prescription-acetaminophen-products-be-limited-325-mg-dosage-unit.
Baker M, Perazella MA. NSAIDs in CKD: are they safe? Am J Kidney Dis. 2020;76(4):546-57.
Ong CK, Lirk P, Tan CH, Seymour RA. An evidence-based update on nonsteroidal anti-inflammatory drugs. Clin Med Res. 2007;5(1):19-34.
Kidney Disease: Improving Global Outcomes (KDIGO) CKD Work Group. KDIGO 2012 clinical practice guideline for the evaluation and management of chronic kidney disease. Kidney Int Suppl 2013;3:1-150.
Ejaz P, Bhojani K, Joshi VR. NSAIDs and kidney. J Assoc Physicians India. 2004;52:632-40.
Coluzzi F, Caputi FF, Billeci D, Pastore AL, Candeletti S, Rocco M, et al. Safe use of opioids in chronic kidney disease and hemodialysis patients: tips and tricks for non-pain specialists. Ther Clin Risk Manag. 2020;16:821-37.
Dean M. Opioids in renal failure and dialysis patients. J Pain Symptom Manage. 2004;28(5):497-504.
Micromedex® (electronic version). IBM Watson Health GV, Colorado, USA. [cited 2021 May 12]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ