Announcements

ประกาศแจ้ง

11-10-2023

วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลมีนโยบายรับบทความเฉพาะจากสมาชิกของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2566 เป็นต้นไป บทความที่ส่งเข้ามายังวารสาร กองบรรณาธิการจะประเมินบทความเป็นการเบื้องต้นภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ หากประเมินแล้วว่าบทความมีคุณภาพเพียงพอที่จะส่งเข้ากระบวนการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ วารสารจะแจ้งผู้เขียนชำระค่าธรรมเนียมการพิจารณาบทความ 3,000 บาทต่อเรื่อง เมื่อได้รับเงินแล้วจึงจะดำเนินการตามกระบวนการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิและการพิจารณาของกองบรรณาธิการต่อไป ทั้งนี้การชำระค่าธรรมเนียมนี้ไม่ได้เป็นหลักประกันว่าบทความจะได้รับการตีพิมพ์

Read more about ประกาศแจ้ง

ฉบับปัจจุบัน

ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (2024): พฤษภาคม - สิงหาคม 2567
					ดู ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 (2024): พฤษภาคม - สิงหาคม 2567
เผยแพร่แล้ว: 31-08-2024

ฉบับเต็ม

รายงานผู้ป่วย

พิษวิทยา

การศึกษาต่อเนื่อง

ดูทุกฉบับ


วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล (TJHP : Thai Journal of Hospital Pharmacy) เป็นวารสารที่ได้รับการทบทวนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (peer-reviewed journal) จัดทำในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดย สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) กำหนดออกปีละ 3 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - เมษายน; ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม - สิงหาคม; ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม ผู้สนใจสามารถอ่านคำแนะนำผู้เขียน และ ส่งบทความได้ที่ ส่งบทความ (Submission) โดยมีนโยบายรับบทความเฉพาะจากสมาชิกสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และตั้งแต่วันที่ 16 ตุลาคม 2566 เป็นต้นไป บทความที่ส่งเข้ามายังวารสาร กองบรรณาธิการจะประเมินบทความเป็นการเบื้องต้นภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์ หากประเมินแล้วว่าบทความมีคุณภาพเพียงพอที่จะส่งเข้ากระบวนการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ วารสารจะแจ้งผู้เขียนชำระค่าธรรมเนียมการพิจารณาบทความ 3,000 บาทต่อเรื่อง เมื่อได้รับเงินแล้วจึงจะดำเนินการตามกระบวนการประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิและการพิจารณาของกองบรรณาธิการต่อไป ทั้งนี้การชำระค่าธรรมเนียมนี้ไม่ได้เป็นหลักประกันว่าบทความจะได้รับการตีพิมพ์

===================
คำแนะนำสำหรับผู้นิพนธ์
ในปัจจุบัน เอกสาร วารสาร หนังสือ ส่วนมากเป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์บนเว็บไซต์ วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลใช้การเขียนเอกสารอ้างอิงระบบ Vancouver Style จึงขอให้ผู้นิพนธ์อ้างอิงเอกสารรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นลำดับแรก เช่น

  • Rutledge DN, Retrosi T, Ostrowski G. Barriers to medication error reporting among hospital nurses. J Clin Nurs. 2018;27(9-10):1941-9. doi: 10.1111/jocn.14335.
  • Sriapha C, Tongpoo A, Wongvisavakorn S, Rittilert P, Trakulsrichai S, Srisuma S, et al. Plant poi-soning in Thailand: a 10-year analysis from Ramathibodi poison center. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2015;46(6):1063-76. PMID: 26867365.
  • เพียงเพ็ญ ชนาเทพาพร. การพัฒนาโปรแกรมเพื่อรายงานผลความคลาดเคลื่อนการสั่งใช้ยาของโรงพยาบาลศรี-นครินทร์. ศรีนครินทร์เวชสาร [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [สืบค้นเมื่อ 29 มิ.ย. 2563];34(3):261-70. สืบค้นจาก: http://thaidj.org/index.php/SMNJ/article/view/6494
  • เสาวนีย์ วิบุลสันติ, ศศิโสภิณ เกียรติบูรณกุล, โอภาส พุทธเจริญ, เอกจิตรา สุขกุล, รังสิมา โลห์เลขา. แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี ประเทศไทย ปี 2564/2565 [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค; 2565 [สืบค้นเมื่อ 30 มิ.ย. 2565]. สืบค้นจาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1281020220531045539.pdf

สามารถดูรายละเอียดการเขียนเอกสารอ้างอิงเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ด้านขวามือ หัวข้อ "คู่มือและคำแนะนำ / การเขียนเอกสารอ้างอิง"