เห็ดพิษ
คำสำคัญ:
เห็ด, พิษ, การรักษาบทคัดย่อ
เห็ดเป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักร Fungi ประกอบด้วยเห็ดที่รับประทานได้และเห็ดพิษ สามารถจำแนกเห็ดพิษได้ 14 ประเภท คือ 1. เห็ดพิษที่มี cyclopeptide เป็นส่วนประกอบ 2. เห็ดพิษที่มี gyromitrin เป็นส่วนประกอบ 3. เห็ดพิษที่มี muscarine เป็นส่วนประกอบ 4. เห็ดพิษที่มี coprine เป็นส่วนประกอบ 5. เห็ดพิษที่มี ibonic acid และ muscimol เป็นส่วนประกอบ 6. เห็ดพิษที่มี psilocybin เป็นส่วนประกอบ 7. เห็ดพิษที่มีสารพิษต่อระบบทางเดินอาหาร 8. เห็ดพิษที่มี orellanine และ orellinine เป็นส่วนประกอบ 9. เห็ดพิษที่มี allenic norleucine เป็นส่วนประกอบ 10. เห็ดพิษที่ทำให้กล้ามเนื้อลายสลาย 11. เห็ดพิษที่มี erythromelalgia acromelic acid เป็นส่วนประกอบ 12. เห็ดพิษที่มี polyporic acid และเห็ดพิษที่ทำให้เกิดโรคสมอง 13. เห็ดพิษที่ทำให้เกิด immune mediated hemolytic anemia และ 14. เห็ดพิษที่ทำให้เกิด lycoperdonosis เห็ดพิษแต่ละประเภทก่อให้เกิดอาการผิดปกติแตกต่างกัน การรักษาที่แนะนำสำหรับอาการของเห็ดพิษทุกชนิด คือ การรักษาแบบประคับประคอง แต่เห็ดพิษบางชนิดมีการรักษาที่จำเพาะ การให้การรักษาผู้ป่วยควรพิจารณาจากอาการของผู้ป่วยเป็นหลักว่าเข้ากันได้กับอาการของเห็ดพิษประเภทใด บางครั้งอาจเกิดอาการจากเห็ดพิษหลาย
ประเภทร่วมกันได้
References
อุทัยวรรณ แสงวณิช, พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์, อัจฉรา พยัพพานนท์, เจนนิเฟอร์ เหลืองสอาด, อนงค์ จันทร์ศรีกุล, บารมี สกลรักษ์. บัญชีรายการทรัพย์สินชีวภาพ เห็ด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร:สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน); 2556. 374 หน้า.
สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. กรมควบคุมโรคเตือนประชาชนในช่วงหน้าฝนนี้ ระมัดระวังการเก็บหรือซื้อเห็ดป่ามารับประทาน อาจเป็น “เห็ดพิษ” เสี่ยงเสียชีวิตได้ [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี; 31 สิงหาคม 2563 [สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563]. สืบค้นจาก: https://ddc.moph.go.th/brc/news.php?news=14527&deptcode=brc.
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. เห็ดพิษที่พบบ่อยในประเทศไทย. นนทบุรี:สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; มิถุนายน 2560.
Goldfrank LR. Mushrooms. In: Hoffman RS, Howland MA, Lewin NA, Nelson LS, Goldfrank LR, Flomenbaum N, editors. Goldfrank’s toxicologic emergencies. 10th ed. New York:McGraw-Hill Education;2015. p.2546-70.
ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. Common poisoning สารพิษจากเห็ด [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร; [สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563]. สืบค้นจาก: https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/pois-cov/mushroom.
ศูนย์ข้อมูลพิษวิทยา กระทรวงสาธารณสุข. ความรู้เกี่ยวกับเห็ดพิษ [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพมหานคร; [สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563]. สืบค้นจาก: http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_toxic/a_tx_1_001c.asp?info_id=321.
Enjalbert F, Rapior S, Nouguier-Soulé J, Guillon S, Amouroux N, Cabot C. Treatment of amatoxin poisoning: 20-year retrospective analysis. J Toxicol Clin Toxicol. 2002;40(6):715-57.
Piqueras J. Hepatotoxic mushroom poisoning: diagnosis and management. Mycopathologia. 1989;105(2):99-110.
Diaz JH. Amatoxin-containing mushroom poisonings: species, toxidromes, treatments, and outcomes. Wilderness Environ Med. 2018;29(1):111-8.
MICROMEDEX® [Database on the internet]. Colorada: Thomson Reuters (Healthcare); c1974-2020. POISINDEX® System, Mushrooms-Monomethylhydrazine; [cited 2020 Sep 20]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com.
Liu J, Chen Y, Gao Y, Walline JH, Lu X, Yu S, et al. N-acetylcysteine as a treatment for amatoxin poisoning: a systematic review. Clin Toxicol (Phila). 2020;58(11):1015-22.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ