การจัดการภาวะน้ำเกินและการปรับยาขับปัสสาวะด้วยตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว

ผู้แต่ง

  • ธนาพร คุ้มสว่าง ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

heart failure, diuretic adjustment, ภาวะหัวใจล้มเหลว, ยาขับปัสสาวะ

บทคัดย่อ

ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว มักจะมีอาการแสดงที่พบได้บ่อย ได้แก่ มีอาการเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ บวม เกิดจากการที่มีภาวะน้ำเกินในร่างกาย ซึ่งภาวะนี้เป็นสาเหตุหลักที่ทำ ให้ผู้ป่วยต้องกลับเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ผู้ป่วยที่มีอาการเหล่านี้มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับยาขับปัสสาวะ เพื่อบรรเทาอาการที่เกิดจากภาวะน้ำเกินในร่างกาย และมีหลายงานวิจัยที่กล่าวว่าการที่ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองและจัดการตนเองเบื้องต้นเมื่อมีภาวะน้ำเกินได้นั้นจะช่วยลดอัตราการเข้ารักษาซ้ำในโรงพยาบาล ลดอัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการเสียชีวิตได้ ดังนั้นเพื่อให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวสามารถจัดการกับภาวะน้ำเกินได้ด้วยตนเองนั้น เภสัชกรที่ดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวจึงต้องช่วยสนับสนุนและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยให้มีความสามารถในการจัดการตนเองเกี่ยวกับเรื่องการจำกัดอาหารที่มีโซเดียมสูง การติดตามอาการน้ำเกินด้วยตนเอง การรักษาสมดุลน้ำและการปรับยาขับปัสสาวะเพื่อให้ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

Author Biography

ธนาพร คุ้มสว่าง, ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ภ.บ.

References

The Heart Association of Thailand under the Royal Patronage of H.M. the King, Heart Failure Society of Thailand. Guidelines for diagnosis and treatment of heart failure, 2014. Bangkok: A-Plus Printing; 2014.

Kanjanavanit R, editor. Comprehensive heart failure management program. 2nd ed. Bangkok: Concept medical; 2015.

Ponikowski P, Voors AA, Anker SD, Bueno H, Cleland JGF, Coats AJS, et al. 2016 ESC guidelines for the diagnosis and treatment of acute and chronic heart failure: The task force for the diagnosis and treatment of acute and chronic heart failure of the European Society of Cardiology (ESC) developed with the special contribution of the Heart Failure Association (HFA) of the ESC. Eur Heart J. 2016;37:2129-200.

Kobkuechaiyapong S. Characteristics of heart failure patients readmitted within 28 days in Saraburi Hospital. J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Cente. 2013;30:35-46.

Ronco C, Kaushik M, Valle R, Aspromonte N, Peacock WF. Diagnosis and management of fluid overload in heart failure and cardio-renal syndrome: The “5B” approach. Semin Nephro. 2012;32:129-41.

American College of Cardiology Foundation, American Heart Association. 2013 ACCF/AHA guideline for the management of heart failure: Executive summary. J Am Coll Cardiol. 2013;62:1495–539.

Promwong P, Meenongwah J. Fluid self-management in heart failure patients. Vajira Med J. 2019;63(4):297-304.

ศรีสกุล จิรกาญจนากร,วิลาวัณย์ ถิรภัทรพงศ์,อัจจิมา สระภักดิ์,วรวิมล เชิดชูจิต,อุษณีย์ เพียรภัทรพงศ์,วิภา ธรรมทินโน, และคณะ. คู่มือสำหรับผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2561.

Ariyachaipanich A, Krittayaphong R, Kunjara Na Ayudhya R, Yingchoncharoen T, Buakhamsri A, et al. Heart Failure Council of Thailand (HFCT) 2019 heart failure guideline: Introduction and diagnosis. J Med Assoc Thai. 2019;102(2):231-9.

Wright SP, Walsh H, Ingley KM, Muncester SA, Gamble GD, Pearl A, et al. Up-take of self-management strategies in a heart failure management programme. Eur J Heart Fail. 2003;5(3):371-80.

American Heart Association. Healthier living with heart failure managing symptoms and reducing risk [Internet]. [cited 2020 May 16]. Available from: http://ahaheartfailure.ksw-gtg.com/publication/?m=46677&i=461880& p=48.

American Heart Association. Healthcare provider: Heart failure patient about heart failure [Internet]. [cited 2020 May 16] Available from: https://www.heart.org/-/media/data-import/downloadables/4/1/a/rahf-toolkit-checklists-ucm_492542.pdf.

American College of Cardiology Foundation. My heart health plan [Internet]. [cited 2020 May 16] Available from:https://www.acc.org/~/media/Files/Migration%20Content/Quality%20and%20Clinical%20Trials/HF%20Toolkit/CardioSmart%20Patient%20Selfcare%20Plan%20%20Tracker.pdf?la=en.

South Eastern Sydney local health district. General practitioners flexible diuretic guidelines. SESLHD District Handbook 2012;1:1-5.

Prasun MA, Kocheril AG, Klass PH, Dunlap SH, Piano MR. The effect of a sliding scale diuretic titration protocol in patients with heart failure. J Cardiovasc Nursing. 2005;20(1):62-70.

Jones CD, Holmes GM, Dewalt DA, Erman B, Broucksou K, Hawk V. Is Adherence to weight monitoring or weight-based diuretic self adjustment associated with fewer heart failure-related emergency department visits or hospitalizations? J Card Fail. 2012;18:576–84.

ณัฐพันธ์ รัตนจรัสกุล. ผลของการปรับยาขับปัสสาวะฟูโรซีไมด์โดยผู้ป่วยเองเปรียบเทียบกับการให้แพทย์ปรับยาขับปัสสาวะฟูโรซีไมด์ในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังที่มีการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายน้อยกว่าปกติ [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06-04-2021

ฉบับ

บท

การศึกษาต่อเนื่อง