พิษวิทยาของเอธิลแอลกอฮอล์และไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์
คำสำคัญ:
เอธิลแอลกอฮอล์, ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์, แอลกอฮอล์, ความเป็นพิษบทคัดย่อ
แอลกอฮอล์เป็นสารเคมีที่มีบทบาทในชีวิตประจำวัน ทั้งใช้เป็นตัวทำละลาย สารฆ่าเชื้อ และบางชนิดสามารถนำมาบริโภคได้ คือ เอธิลแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ที่สำคัญ 2 ชนิดคือเอธิลแอลกอฮอล์และไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ นอกจากใช้ประโยชน์แล้วยังทำให้เกิดความเป็นพิษได้ แต่มีความเป็นพิษแตกต่างกัน เอธิลแอลกอฮอล์ถูกเปลี่ยนแปลงจนได้เมแทบอไลต์สุดท้ายเป็นอะซีเตท ขณะที่ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์จะถูกเปลี่ยนแปลงจนได้เมแทบอไลต์สุดท้ายเป็นอะซีโตน ความเป็นพิษจากแอลกอฮอล์ที่เกิดขึ้นเป็นผลมาจากการกดระบบประสาทส่วนกลาง การกดการหายใจ และอาจถึงแก่ชีวิตได้หากมีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดเป็นจำนวนมาก การรักษาความเป็นพิษจากแอลกอฮอล์
ในปัจจุบันจะเป็นการรักษาตามอาการ การเฝ้าระวังการกดการหายใจและระบบประสาทที่มากเกิน การติดตามและรักษาอาการแทรกซ้อน
References
McDonnell G, Russell D. Antiseptics and disinfectants: activity, action, and resistance. Clin Microbiol Rev. 1999;12: 147-79.
Yoo JH. Review of disinfection and sterilization – Back to the basics. Infect Chemother. 2018;50:101-9.
Turner P, Saeed B, Kelsey MC. Dermal absorption of isopropyl alcohol from a commercial hand rub: implications for its use in hand decontamination. J Hosp Infect. 2004;56:287-90.
Kramer A, Below H, Bieber N, Kampf G, Toma CD, Huebner NO, et al. Quantity of ethanol absorption after excessive hand disinfection using three commercially available hand rubs is minimal and below toxic levels for humans. BMC Infect Dis. 2007;7:117. https://doi.org/10.1186/1471-2334-7-117.
Matteucci MJ. Chapter 89. Isopropyl Alcohol. In: Olson KR, eds. Poisoning & drug overdose, [Internet]. [cited 2021 March 9]. 6e. McGraw-Hill; Available from: https://accessmedicine.mhmedical.com/content.aspx?bookid=391§ionid=42069903.
Clinical key. Drug monograph ethanol [Internet]. [cited 2021 March 9]. Available from: https://www.clinicalkey.com/#!/content/drugmonograph/6-s2.0-233.
Mofenson HC, Caraccio TR, McGuigan M, Greensher J. Medical toxicology. In: Kellerman RD, Rakel DP. eds. CONN’s current therapy 2020. PA: Elsevier;2020. P.1281-334.
IBM Micromedex® POISINDEX®: (Ethanol). In: IBM Micromedex® POISINDEX® (electronic version). IBM Watson Health, Greenwood Village, Colorado, USA. [cited: 2020 April 30]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com/.
IBM Micromedex® HAZARDTEXT®: (Ethanol). In: IBM Micromedex® HAZARDTEXT® (electronic version). IBM Watson Health, Greenwood Village, Colorado, USA. [cited: 2020 june 8]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com
Material safety data sheet isopropyl alcohol 70% in water [Internet]. [cited 2020 April 30]. Available from: https://fscimage.fishersci.com/msds/89530.htm.
National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism. Alcohol alert [Internet]. [cited 2020 April 30]. Available from: https://pubs.niaaa.nih.gov/publications/aa72/aa72.htm.
Soghoian S, Díaz-Alcalá JE. Disulfiram toxicity clinical presentation [Internet]. Medscape; [cite 2020 April 30]. Available from: https://emedicine.medscape.com/article/814525-clinical.
IBM Micromedex® POISINDEX®: (Isopropyl Alcohol). In: IBM Micromedex® POISINDEX® (electronic version). IBM Watson Health, Greenwood Village, Colo–rado, USA. [cited: 2020 April 30]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ