คาซิริวิแมบและอิมดีวิแมบ: แอนติบอดีค็อกเทล สำหรับรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
คำสำคัญ:
คาซิริวิแมบ/อิมดีวิแมบ, แอนติบอดีค็อกเทล, โมโนโคลนอลแอนติบอดี, โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019บทคัดย่อ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เป็นโรคอุบัติใหม่รุนแรงที่อาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ โดยทางเลือกแรกในการรักษาของประเทศไทยจะเริ่มต้นด้วยยาต้านไวรัสฟาวิพิราเวียร์ หรือสมุนไพรฟ้าทะลายโจรซึ่งทั้งสองไม่ได้มีฤทธิ์จำเพาะในการรักษาโควิด-19 ปัจจุบันจึงมีการพัฒนายาใหม่ที่มีคุณสมบัติเป็นโมโนโคลนอลแอนติบอดี ซึ่งเป็นแอนติบอดีที่ถูกออกแบบมาให้มีความจำเพาะต่อเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 โดยตรง สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ของประเทศไทยได้ประกาศอนุมัติการใช้ยาแอนติบอดีแบบผสม หรือ “แอนติบอดีค็อกเทล” แบบมีเงื่อนไขภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อใช้รักษาโควิด-19 ประกอบด้วยคาซิริวิแมบ และอิมดีวิแมบ ซึ่งมีคุณสมบัติจับกับโปรตีนส่วนหนามของเชื้อ ยับยั้งการติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ร่างกายและช่วยต่อต้านเชื้อไวรัสกลายพันธุ์ โดยพิจารณาให้เป็นยาทางเลือกใหม่ในการรักษาโควิด-19 ในผู้ป่วยนอกที่มีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง และมีปัจจัยเสี่ยงที่โรคจะรุนแรงมากขึ้น เพื่อป้องกันการดำเนินโรคไม่ให้เกิดภาวะปอดอักเสบรุนแรงจนต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย และป้องกันวิกฤตการณ์การระบาดของโควิด-19 ในปัจจุบันและอนาคตได้
References
World Health Organization. Coronavirus disease (COVID-19) [Internet]. 2020 [cited 2021 Sep 23]. Available from: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/question-and-answers-hub/q-a-detail/coronavirus-disease-covid-19
Kumar SU, Priya NM, Nithya SR, Kannan P, Jain N, Kumar DT, et al. A review of novel coronavirus disease (COVID-19): based on genomic structure, phylogeny, current shreds of evidence, candidate vaccines, and drug repurposing. 3 Biotech. 2021;11(4):1-22.
Kausalya. Coronavirus symptoms and prevention explained through medical animation [Internet]. California: Scientific Animations; 2020 [cited 2021 Sep 23]. Available from: https://www.scientificanimations.com/coronavirus-symptoms-and-prevention-explained-through-medical-animation/
คณะกรรมการกำกับดูแลรักษาโควิด-19. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2565 [ปรับปรุงเมื่อ 22 มี.ค. 2565; เข้าถึงเมื่อ 30 มี.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://covid19.dms.go.th/backend/Content/Content_File/Covid_Health/Attach/25650324144250PM_CPG%2022%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B2.pdf
COVID-19 Treatment Guidelines Panel. Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Treatment Guidelines [Internet]. Maryland: National Institutes of Health; 2022 [updated 2022 Mar 28; cited 2022 Mar 30]. Available from: https://www.covid19treatmentguidelines.nih.gov/about-the-guidelines/
Pourkarim F, Pourtaghi‐Anvarian S, Rezaee H. Molnupiravir: A new candidate for COVID‐19 treatment. Pharmacol Res Perspect. 2022;10:e00909. doi:10.1002/prp2.909.
Foltz IN, Karow M, Wasserman SM. Evolution and emergence of therapeutic monoclonal antibodies: what cardiologists need to know. Circulation. 2013;127(22):2222-30.
The United States Food and Drug Administration. Fact sheet for health care providers emergency use authorization (EUA) of REGEN-COV™ (casirivimab and imdevimab) [Internet]. 2021 [cited 2021 Sep 29]. Available from: https://www.fda.gov/media/145611/download
REGEN-COV™ [package insert]. Bangkok (Thailand): Roche Thailand Ltd.; revised 2021 November.
Hoffmann-La Roche Limited. Product monograph including patient medication information, casirivimab and imdevimab for injection. Canada; 2021.
Hoffmann M, Zhang L, Krüger N, Graichen L, Weber HK, Heike A, et al. SARS-CoV-2 mutations acquired in mink reduce antibody-mediated neutralization. Cell Rep. 2021;35(3):109017. doi:10.1016/j.celrep.2021.109017
Takashita E, Kinoshita N, Yamayoshi S, Fujisaki S, Ito M, Peter H, et al. Efficacy of antibodies and antiviral drugs against COVID-19 Omicron variant. N Engl J Med. 2022;386(10):995-8. doi:10.1056/NEJMc2119407.
Abramowicz M, Zuccotti G, Pflomm JM, Daron SM, Faucard A, Morrison CZ, et al. An EUA for casirivimab and imdevimab for COVID-19. Med Lett Drugs Ther. 2020;62(1614):201-2.
Weinreich DM, Sivapalasingam S, Norton T, Ali S, Gao H, Bhore R, et al. REGEN-COV antibody cocktail in outpatients with COVID-19. [Preprint]. medRxiv 2021 [cited 2021 Sep 20]: [33 p.]. Available from: https://doi.org/10.1101/2021.06.09.21257915
Weinreich DM, Sivapalasingam S, Norton T, Ali S, Gao H, Bhore R, et al. REGEN-COV antibody cocktail clinical outcomes study in COVID-19 outpatients. [Preprint]. medRxiv 2021 [cited 2021 Sep 28]: [32 p.]. Available from: https://doi.org/10.1101/2021.05.19.21257469
Regeneron Pharmaceuticals, Inc. Tarrytown NY. New REGEN-COV™ (casirivimab and imdevimab) Data show supportive results in patients hospitalized with COVID-19 [Internet]. New York. [updated 2021 Sep 30; cited 2021 Oct 2]. Available from: https://investor.regeneron.com/news-releases/news-release-details/new-regen-covtm-casirivimab-and-imdevimab-data-show-supportive
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ