ภาวะพิษจากก๊าซคลอรีน
คำสำคัญ:
ก๊าซคลอรีน, โซเดียม ไฮโปคลอไรท์, กรดไฮโดรคลอริกบทคัดย่อ
ภาวะพิษจากก๊าซคลอรีน ที่พบบ่อยมีความเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยที่สัมผัสก๊าซคลอรีนจากการผสมผลิตภัณฑ์ซักผ้าขาวที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ กับผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดห้องน้ำที่มีส่วนผสมเป็นกรดไฮโดรคลอริก โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ก๊าซคลอรีนมีสีเขียวเหลือง มีกลิ่นฉุน มีฤทธิ์ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ ระคายเคืองตา อาการที่พบได้บ่อย ได้แก่ เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก ไอ หายใจมีเสียงหวีด อาการแสบร้อนที่ตาและจมูก การวินิจฉัยภาวะพิษจากก๊าซคลอรีนใช้อาการแสดงร่วมกับการซักประวัติการสัมผัสเป็นสำคัญ แนวทางในการรักษา คือ ให้นำผู้ป่วยออกมาจากจุดที่มีการสัมผัส และให้อยู่ในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเท ถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยที่สัมผัสก๊าซพิษดังกล่าว และให้การรักษาแบบประคับประคองอย่างใกล้ชิด ทั้งนี้ในผู้ป่วยที่หายใจมีเสียงหวีด สามารถพิจารณาใช้ยาพ่นในกลุ่ม beta2 agonists ได้
References
MICROMEDEX® [Database on the internet]. Colorado: Thomson Reuters (Healthcare); c1974-2021. POISINDEX® System, Chlorine gas; [cited 2021 Dec 27]. Available from: https://www.micromedexsolutions.com (Subscription required to view)
อนามัย (ธีรวิโรจน์) เทศกะทึก. พิษสารเคมีจากการทำงาน รู้ทันป้องกันได้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2554. หน้า 381-8.
Morim A, Guldner GT. Chlorine gas toxicity [Internet]. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; updated 2022 June 27 [cited 2022 Nov 8]. Available from: https://www. ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK537213/
Olson KR. Chlorine. In: Olson KR (ed). Poisoning & drug overdose. 7th ed. San Francisco: McGraw-Hill; 2018. p. 191-2.
Nelson LS, Odujebe OA. Simple asphyxiants and pulmonary irritants. In: Hoffman RS, Howland MA, Lewin NA, Nelson LS, Goldfrank LR, Flomenbaum N, editors. Goldfrank’s toxicologic emergencies. 11th ed. New York: McGraw-Hill Education; 2019. p. 1651-62.
Winder C. The toxicology of chlorine. Environ Res. 2001;85(2):105-14.
White CW, Martin JG. Chlorine gas inhalation: human clinical evidence of toxicity and experience in animal models. Proc Am Thorac Soc. 2010;7(4):257-63.
Olson KR, Vohra R. Emergency evaluation and treatment. In: Olson KR (ed). Poisoning & drug overdose. 7th ed. San Francisco: McGraw-Hill; 2018. p. 1-69.
Kim-Katz S. Beta-2 adrenergic stimulants. In: Olson KR (ed). Poisoning & drug overdose. 7th ed. San Francisco: McGraw-Hill; 2018. p. 160-2.
Combivent [package insert]. Bangkok: Boehringer Ingelheim (Thai); 2015.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ