สูตรยาสำหรับใช้รักษาการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไรในปัจจุบัน
คำสำคัญ:
เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร, สูตรยาสำหรับใช้รักษาบทคัดย่อ
เชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบและมะเร็งกระเพาะอาหาร ซึ่งสามารถให้การรักษาได้ ในปัจจุบันมีสูตรยาให้เลือกใช้หลากหลายสูตรซึ่งแตกต่างกันตามแนวทางเวชปฏิบัติของแต่ละประเทศ โดยส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับนโยบายทางสาธารณสุขและการเข้าถึงยาในการรักษาของแต่ละประเทศ สำหรับประเทศไทยสูตรยาที่ใช้ยังคงเป็นไปตามแนวเวชปฏิบัติของประเทศไทย พ.ศ. 2558 โดย first-line therapy ได้แก่ standard triple therapy, sequential therapy, concomitant quadruple therapy และ second-line therapy ได้แก่ quadruple therapy, levofloxacin based triple therapy ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 ได้มีการนำ vonoprazan จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาใช้ในประเทศไทย จึงมีการสั่งใช้ vonoprazan แทนยาในกลุ่ม proton pump inhibitors เพิ่มขึ้นในสูตรยาหลัก รวมทั้งยังมีการใช้สูตรยาทางเลือก คือ vonoprazan-amoxycillin dual therapy ด้วย ดังนั้นการรวบรวมข้อมูลสูตรยาที่มีใช้ทั้งหมดในปัจจุบันจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้สามารถหาสูตรยาที่กำจัดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่เนื่องจากสูตรยาที่ใช้ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 2 ชนิดขึ้นไปจึงอาจส่งผลกระทบที่ตามมาภายหลัง ได้แก่ การทำให้เกิดเชื้อดื้อยาและความไม่สมดุลของแบคทีเรียในลำไส้ โดยความไม่สมดุลของแบคทีเรียในลำไส้จะนำไปสู่โรคเกี่ยวกับระบบย่อยในทางเดินอาหารได้อีกด้วย สูตรยาที่นำมาใช้รักษาในอนาคตจึงต้องสามารถกำจัดเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ระยะเวลาในการรักษาไม่นาน ผู้ป่วยทุกคนสามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งสิ่งที่ต้องคำนึงถึงมากที่สุดคือ ไม่ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาและส่งผลกระทบต่อความสมดุลของแบคทีเรียในลำไส้น้อยที่สุด
References
Vilaichone RK, Gumnarai P, Ratanachu-Ek T, Mahachai V. Nationwide survey of Helicobacter pylori antibiotic resistance in Thailand. Diagn Microbiol Infect Dis. 2013;77(4):346-9. doi: 10.1016/j.diagmicrobio.2013.08.010.
Suzuki S, Kusano C, Horii T, Ichijima R, Ikehara H. The ideal Helicobacter pylori treatment for the present and the future. Digestion. 2022;103:62-8. doi: 10.1159/000519413.
Chey WD, Leontiadis GI, Howden CW, Moss SF. ACG clinical guideline: treatment of Helicobacter pylori Infection. Am J Gastroenterol. 2017;112(2):212-39. doi: 10.1038/ajg.2016.563.
Malfertheiner P, Megraud F, O'Morain CA, Gisbert JP, Kuipers EJ, Axon AT, et al. Management of Helicobacter pylori infection-the Maastricht V/Florence Consensus Report. Gut. 2017;66(1):6-30. doi: 10.1136/gutjnl-2016-312288.
Fallone CA, Chiba N, van Zanten SV, Fischbach L, Gisbert JP, Hunt RH, et al. The Toronto Consensus for the treatment of Helicobacter pylori infection in adults. Gastroenterology. 2016;151(1):51-69.e14. doi: 10.1053/j.gastro.2016.04.006.
Liu WZ, Xie Y, Lu H, Cheng H, Zeng ZR, Zhou LY, et al. Fifth Chinese national consensus report on the management of Helicobacter pylori infection. Helicobacter. 2018;23(2):e12475. doi: 10.1111/hel.12475.
Jung HK, Kang SJ, Lee YC, Yang HJ, Park SY, Shin CM, et al. Evidence-based guidelines for the treatment of Helicobacter pylori infection in Korea 2020. Gut Liver. 2021;15(2):168-95. doi: 10.5009/gnl20288.
Kato M, Ota H, Okuda M, Kikuchi S, Satoh K, Shimoyama T, et al. Guidelines for the management of Helicobacter pylori infection in Japan: 2016 revised edition. Helicobacter. 2019;24(4):e12597. doi: 10.1111/hel.12597.
สมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย. กลุ่มวิจัยโรคกระเพาะอาหาร. แนวทางเวชปฏิบัติในการวินิจฉัยและการรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลไร ในประเทศไทย พ.ศ. 2558. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: คอนเซ็พท์ เมดิคัส; 2559. หน้า 13-9.
Suzuki S, Gotoda T, Kusano C, Iwatsuka K, Moriyama M. The efficacy and tolerability of a triple therapy containing a potassium-competitive acid blocker compared with a 7-day PPI-based low-dose clarithromycin triple therapy. Am J Gastroenterol. 2016;111(7):949-56. doi: 10.1038/ajg.2016.182.
Murakami K, Sakurai Y, Shiino M, Funao N, Nishimura A, Asaka M. Vonoprazan, a novel potassium-competitive acid blocker, as a component of first-line and second-line triple therapy for Helicobacter pylori eradication: a phase III, randomised, double-blind study. Gut. 2016;65(9):1439-46. doi: 10.1136/gutjnl-2015-311304.
Li M, Oshima T, Horikawa T, Tozawa K, Tomita T, Fukui H, et al. Systematic review with meta-analysis: vonoprazan, a potent acid blocker, is superior to proton-pump inhibitors for eradication of clarithromycin-resistant strains of Helicobacter pylori. Helicobacter. 2018;23(4):e12495. doi: 10.1111/hel.12495.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ตรวจสอบการอนุญาต VOCINTI [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2562 [สืบค้นเมื่อ 29 ธ.ค. 2565]. สืบค้นจาก: http://pertento.fda.moph.go.th/FDA_SEARCH_DRUG/SEARCH_DRUG/pop-up_drug_ex.aspx?Newcode=U1DR1C1012611505011C
World Health Organization (WHO). Global priority list of antibiotic-resistant bacteria to guide research, discovery, and development of new antibiotics [Internet]. Geneva: WHO; 2017 [cited 2022 Dec 29]. Available from: http://remed.org/wp-content/uploads/2017/03/lobal-priority-list-of-antibiotic-resistant-bacteria-2017.pdf
Valdes AM, Walter J, Segal E, Spector TD. Role of the gut microbiota in nutrition and health. BMJ. 2018;361:k2179. doi: 10.1136/bmj.k2179.
Liou JM, Chen CC, Chang CM, Fang YJ, Bair MJ, Chen PY, et al. Long-term changes of gut microbiota, antibiotic resistance, and metabolic parameters after Helicobacter pylori eradication: a multicentre, open-label, randomised trial. Lancet Infect Dis. 2019;19(10):1109-20. doi: 10.1016/S1473-3099(19)30272-5.
Horii T, Suzuki S, Takano C, Shibuya H, Ichijima R, Kusano C, et al. Lower impact of vonoprazan-amoxicillin dual therapy on gut microbiota for Helicobacter pylori eradication. J Gastroenterol Hepatol. 2021;36(12):3314-21. doi: 10.1111/jgh.15572.
Gotoda T, Takano C, Kusano C, Suzuki S, Ikehara H, Hayakawa S, et al. Gut microbiome can be restored without adverse events after Helicobacter pylori eradication therapy in teenagers. Helicobacter. 2018;23(6):e12541. doi: 10.1111/hel.12541.
Gotoda T, Kusano C, Suzuki S, Horii T, Ichijima R, Ikehara H. Clinical impact of vonoprazan-based dual therapy with amoxicillin for H. pylori infection in a treatment-naïve cohort of junior high school students in Japan. J Gastroenterol. 2020;55(10):969-76. doi: 10.1007/s00535-020-01709-4.
Furuta T, Yamade M, Kagami T, Uotani T, Suzuki T, Higuchi T, et al. Dual therapy with vonoprazan and amoxicillin is as effective as triple therapy with vonoprazan, amoxicillin and clarithromycin for eradication of Helicobacter pylori. Digestion. 2020;101(6):743-51. doi: 10.1159/000502287.
Eto H, Suzuki S, Kusano C, Ikehara H, Ichijima R, Ito H, et al. Impact of body size on first-line Helicobacter pylori eradication success using vonoprazan and amoxicillin dual therapy. Helicobacter. 2021;26(2):e12788. doi: 10.1111/hel.12788.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล(ประเทศไทย)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาลทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสาร (สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย)) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอน (Creative Commons License: CC) โดย ต้องแสดงที่มาจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลง, Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) และบุคลากรในสมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ